ปัจจัยการกำหนดนโยบายของพรรคการเมือง

ผู้แต่ง

  • ไพบูลย์ สุขเจตนี นักวิชาการอิสระ

คำสำคัญ:

ปัจจัย, นโยบาย, พรรคการเมือง

บทคัดย่อ

ปัจจัยในการกำหนดนโยบายของพรรคการเมือง เกิดจากปัจจัยภายในที่เป็นจุดยืนของพรรคการเมือง และปัจจัยภายนอกที่เกิดจากการเรียกร้องของประชาชนในการแก้ปัญหา ที่กระทบและส่งผลต่อสังคมและเศรษฐกิจของคนส่วนใหญ่ ดังนี้ 1) ยุทธศาสตร์พรรค (Strategy) ที่พรรคผู้บริหารพรรคและกรรมการพรรค เป็นผู้จัดทำขึ้นมาจากวัตถุประสงค์หรือจุดยืนของพรรคการเมือง เป็นนโยบายที่กำหนดไว้กว้าง ๆ 2) ข้อร้องเรียน (Appealed) เป็นนโยบายที่กำหนดขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นประจำ เป็นนโยบายเฉพาะกรณี 3) ข้อเรียกร้อง (Imposed) แรงกดดันที่ผลักดันเป็นนโยบายที่เกิดจาก เช่น อิทธิพลของรัฐบาล ระเบียบกฎหมาย กลุ่มอิทธิพลและสมาคมต่างๆ 4) นโยบายโดยบริยายหรือนโยบายโดยนัย (Implied policy) เป็นนโยบายอันเกิดจากความผลการวิเคราะห์การบริหารที่เป็นอยู่และที่เห็นว่านโยบายเก่าๆ ที่เคยใช้มานั้น สามารถนำไปใช้และแก้ปัญหาประชาชนได้จริงหรือไม่ประการ

References

กอปรลาภ อภัยภักดิ์. (2562). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ. วารสารวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์, 1(1), 61-67.

ณฐมน หมวกฉิม. (2564). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของเยาวชนไทย. วารสารวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์, 3(3), 43-51.

ธนพัฒน์ เฉลิมรัตน์. (2563). กระบวนการกล่อมเกลาทางการเมืองกับความเป็นพลเมืองในจังหวัดเลย. วารสารวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์, 2(2), 61-68.

ประคอง มาโต. (2563). พระสงฆ์กับการเมืองไทย. วารสารวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์, 2(3), 39-45.

พระธงชัย วชิรญาโณ. (2563). การตื่นตัวทางการเมืองของเยาวชนไทย. วารสารวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์, 2(3), 31-38.

Elazar, D.J. (1984), Politics and Governments of the American States. New York: Harper & Row

Thomas, R.D. (1984). Understanding Public Policy (5th ed). New Jersey: Prentice-Hall.

Friedrich, C.J. (1963). Man and His Government. New York: McGraw - Hill.

Goodnow, F.J. (2007). Politics and Administration. Edited by Sharfitz, Jay M, and Albert C. Hyde. (sixth edition). Classics of Public Administration. Canada: Wadsworth.

Greenwood, W. T. (1965). Management and Organizational Behaviour Theories: An Interdisciplinary Approach. Ohio: South-Western Publishing Co.

Haimann, T & William G. S. (1974). Social Policy: Erom Theory Policy Practice .2nd edition.

Jacop, C. E. (1966). Policy and Bureaucracy. Van Nostrand

Lambright W.H. (1979).Technology Transfer to Cities.Colorado:Westiview Press/Boulder.

Lindblom, C.E. (1980). The Policy Making Process (2nd ed). New Jersey: Prentice-Hall.

Munns, J. M. (1975). The Environment, Politics, and Policy Literature: A Critique and Reformulation. Western Political Quarterly, 28(4), 646-67.

Piffner, J. M. (1960). Administrative Organization. Englewood Cliffs, N.J.: Prentice– Hall.

Sharkansky, I. (1971). Policy Analysis in Political Science. Chicago: Markham.

Terry, G. R. (1977). Principles of Management. Illinois: Richard D. Irwin, Inc.

Wayne, A. L. (1905). The Mean of Policy. United State of America: Southern Illinois University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-09-27

How to Cite

สุขเจตนี ไ. . (2022). ปัจจัยการกำหนดนโยบายของพรรคการเมือง. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 11(5), A84-A93. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/255736