ทฤษฎีภาวะผู้นำใฝ่บริการ : ทิศทางการบริหารจัดการขององค์การในอนาคต

ผู้แต่ง

  • อนุวัต กระสังข์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • ทักษิณ ประชามอญ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

ภาวะผู้นำใฝ่บริการ, ทิศทางการบริหารจัดการขององค์การ

บทคัดย่อ

บทความฉบับนี้ ผู้เขียนนำเสนอทฤษฎีภาวะผู้นำใฝ่บริการ : ทิศทางการบริหารจัดการขององค์การในอนาคตพบว่ามีองค์ประกอบที่สำคัญ 4 ประการ คือ 1) ตัวผู้นำ 2) ผู้ตาม
3) การเปลี่ยนแปลง 4) อิทธิหรือแรงบันดาลใจที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการยังสอดคล้องกับหลักธรรมสำหรับผู้บริหารหรือผู้ปกครอง อันเป็นธรรมเครื่องยึดเหนี่ยวความเห็นอกเห็นใจของบุคคล และประสานหมู่ชนให้สามัคคี เป็นหลักการของการสงเคราะห์มีพื้นฐานบนความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น การปฏิบัติด้วยความศรัทธา การยึดหลักการของการรับใช้และให้บริการ การกระทำความดีเพื่อการอยู่ร่วมกัน

References

Anuwat Krasang. (2015). Leader in the Globalization. Journal of MCU Social Science Review, 4(2), 25-37.
________.(2016).Buddhist Human Resource Management. Bangkok: Mahachula-
longkornrajavathayalaya Printing.
DuBrin, J . Andrew. (2007). Leadership Research Findings, Practice, and Skills.5thed, .Boston: Houghton Mifflin Company.
Fred E. Fiedler. (1967). A Theory of Leadership Effectiveness, New York: McGraw Hill.
Fullan,M.. (2004). Leading in a Culture of Change. San Francisco : Jossey – Bass.
Paul Hensey, Kenneth H. Blanchard. (1994). Management of Organisational Behaviour. New Delhi : Prentici Hall.
Spears & Lawence,M, (2002). Focus on Leadership : Servant Leadership for the Twenty – First Century. New York. NY : John Wiley & Sons
Natchuda Wijitjammaree. (2010). Communication in Organization. Bangkok: Sirima.

Downloads

How to Cite

กระสังข์ อ. . ., & ประชามอญ ท. . . (2017). ทฤษฎีภาวะผู้นำใฝ่บริการ : ทิศทางการบริหารจัดการขององค์การในอนาคต. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 6(4), 112–126. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/245631