รัฐประศาสนศาสตร์เชิงพุทธ : นโยบาย แนวทางปฏิบัติ เพื่อบรรลุเป้าหมายองค์กรสงฆ์
คำสำคัญ:
รัฐประศาสนศาสตร์เชิงพุทธ, นโยบาย, แนวทางปฏิบัติบทคัดย่อ
รัฐประศาสนศาสตร์เชิงพุทธชี้ให้เห็นว่าแนวทางปฏิบัติควรยึดหลักธรรมาธิปไตยเป็นสาคัญด้วยเหตุผลที่ว่า ผู้บริหารเองต้องประพฤติธรรมและใช้ธรรมเป็นหลักในการบริหาร พุทธวิธี
บริหารจึงไม่เป็นทั้งอัตตาธิปไตยและโลกาธิปไตย ผู้บริหารที่เป็นอัตตาธิปไตยก็มักจะคานึงถึงผลประโยชน์ส่วนตนหรือความพอใจของตนเป็นที่ตั้งโดยยึดคติว่าถูกต้องคือถูกใจข้าพเจ้า ผู้บริหารประเภทนี้มักลงท้ายด้วยการเป็นเผด็จการ ส่วนผู้บริหารที่เป็นโลกาธิปไตยก็พยายามเอาใจทุกคนเพื่อให้ตนเองอยู่ในตาแน่งต่อไปได้ เขาพยายามทาให้ถูกใจทุกคน ซึ่งก็เป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ผู้บริหารประเภทนี้ มักหนีปัญหา เมื่อมีปัญหาขัดแย้งเกิดขึ้นในองค์กรก็พยายามลอยตัวหนีปัญหาผู้บริหารที่ดีต้องเป็นธรรมาธิปไตย เขายึดถือคติว่า ถูกต้องไม่จาเป็นต้องถูกใจข้าพเจ้าหรือต้องถูกใจทุกคน เขากล้าตัดสินใจลงมือทาในสิ่งที่ถูกต้องชอบธรรม โดยไม่พยายามลอยตัวหนีปัญหา เขาถือคติว่า อานาจหน้าที่มาพร้อมกับความรับผิดชอบ เขายอมเสียสละประโยชน์สุขส่วนตนเพื่อประโยชน์สุขที่ยิ่งใหญ่กว่า นั่นคือประโยชน์สุขส่วนรวมดังพุทธพจน์ที่ว่า “ถ้าเห็นว่าจะได้ประโยชน์สุขที่ยิ่งใหญ่เพราะสละประโยชน์สุขเล็กน้อย บุคคลควรสละประโยชน์สุขเล็กน้อยเพื่อเห็นแก่ประโยชน์สุขที่ยิ่งใหญ่”
References
ราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.
พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). พุทธวิธีการบริหาร. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๙.
สร้อยตระกูล (ติวยานนท์) อรรถมานะ. สาธารณบริหารศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๔๐.
ธิติวุฒิ หมั่นมี. “มิติใหม่ของการบริหารองค์กรภาครัฐ”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่
๓ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๗.
สุรพล สุยะพรหม. “การควบคุมและการบังคับบัญชาองค์กรสงฆ์ไทย”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์
ปริทรรศน์. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๕๕.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2016 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น