การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น

ผู้แต่ง

  • ภาวดี ทะไกรราช คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

คำสำคัญ:

ผู้สูงอายุ การดูแลสุขภาพ ภูมิปัญญาท้องถิ่น

บทคัดย่อ

สังคมไทยในปัจจุบันได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มรูปแบบเป็นผลสืบเนื่องมาจากอัตราการเกิดของกลุ่มประชากรวัยเด็กที่ลดลงและอัตราการเพิ่มของกลุ่มประชากรวัยสูงอายุที่มากขึ้นการ
ให้ความใส่ใจต่อการดูแลสุขภาพตลอดถึงวิธีการที่ใช้เป็นหลักปฏิบัติตนต่อการดาเนินชีวิตจึงเป็นสิ่งที่ผู้สูงอายุควรให้ความสาคัญและปรับตัวให้เกิดความเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นอีกหนึ่งแนวทางในการปฏิบัติตนที่เกิดจากการสั่งสมประสบการณ์เป็นระยะเวลายาวนานจนเกิดเป็นองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับบริบทวิถีวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อม และประเพณีท้องถิ่นที่ผู้สูงอายุดารงชีวิตอยู่ สามารถนามาเป็นหลักปฏิบัติในการดูแลสุขภาพให้ดาเนินชีวิตได้อย่างสมดุล มีคุณภาพและมีความเหมาะสมเริ่มที่ลดปัจจัยเสี่ยงด้านอาหารส่งเสริมกิจกรรมด้านสุขภาพเพิ่มบทบาททางสังคมให้มีความเหมาะสมต่อวัยเพื่อเกิดการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีร่วมกันในการดาเนินกิจกรรม สิ่งเหล่านี้จะทาให้ผู้สูงอายุดารงชีวิตในครอบครัวและชุมชนได้อย่างผาสุก มีคุณค่า มีศักดิ์ศรี และมีความมั่นคงทางจิตใจในบั้นปลายชีวิต

References

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ และคณะ. วิถีชุมชน : คู่มือการเรียนรู้ที่ทาให้งานชุมชนง่ายได้ผลและ
สนุก. นนทบุรี : สถาบันวิจัยสังคมและสุขภาพ, ๒๕๔๕.
คณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. แผน
ผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๖๔) ฉบับปรับปรุงครั้งที่ ๑ พ.ศ.๒๕๕๒.
พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพมหานคร : เทพเพ็ญวานิสย์, ๒๕๕๓.
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. การบูรณาการระบบบานาญแห่งชาติ. กรุงเทพมหานคร :
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, ๒๕๕๘.
ธนิยา โพธิ์งาม. “การศึกษาปัญหาและความต้องการสวัสดิการผู้สูงอายุขององค์การบริหารส่วน
ตาบลโคกปี่ฆ้อง อาเภอเมืองสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์
ปริทรรศน์. ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๗.
ทรงพล ขันธพัทธ์. “การศึกษาสภาพ และปัญหาการดาเนินงานสวัสดิการสังคมแก่ผู้สูงอายุของ
องค์การบริหารส่วนตาบลท่าหลวง อาเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา”. วารสาร
มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๕๗.
วีณา จิรัจฉริยากูล. มะระขี้นก ใน บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน. ออนไลน์. เข้าถึงได้จาก
http://www.pharmacy.mahidol.ac.th สืบค้น ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๘.
สมชัย นิจพานิช. “ฤาษีดัดตน ๑๕ ท่า” ออกกาลังกาย ต่อต้านโรค อายุยืน. ออนไลน์. เข้าถึงได้
จาก : http://www.thaihealth.or.th/สืบค้น ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๘.
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (๒๕๕๗). ภาวะสังคมไทยไตร
มาสหนึ่งปี ๒๕๕๗. ออนไลน์. เข้าถึงได้จาก : http://social.nesdb.go.th สืบค้น
๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๘.
Ferrini AF, Ferrini RL . Health in the Later Years. 2nd ed. Dubuque (IA): Brown &
Benchmark. 1993.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2016-12-20

How to Cite

ทะไกรราช ภ. (2016). การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 5(3), 219–232. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/245559