ทุนทางสังคมกับการพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต
คำสำคัญ:
ทุนทางสังคม, การพัฒนาสังคม, สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตบทคัดย่อ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน เป็นยุทธศาสตร์หนึ่งในการพัฒนาประเทศไทย ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ แนวทางสาคัญ
ของการพัฒนาเพื่อเสริมสร้างยุทธศาสตร์ ดังกล่าวคือ การนาประโยชน์จากทุนทางสังคมมาใช้ในการพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทุนทางสังคมถือเป็นสิ่งที่ดีงามในสังคม เป็นสิ่งซึ่งก่อเกิดและสั่งสมอยู่ในสังคมมาเป็นเวลานาน องค์ประกอบของทุนทางสังคมในสังคมทั่วไป ได้แก่ องค์ความรู้หรือภูมิปัญญา มนุษย์หรือบุคคล วัฒนธรรมหรือประเพณี และสถาบันทางสังคม สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่มีความสาคัญยิ่งในการพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ซึ่งครอบคลุมทั้งการศึกษาในระบบการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
References
กรุงเทพมหานคร: ๒๑ เห็นจูรี, ๒๕๔๖.
คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิและสังคมแห่งชาติ, สำนักงาน. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕ ๒๕๕๙). กรุงเทพมหานคร: สำนักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิและสังคมแห่งชาติ, L๕๕๕.
นภาภรณ์ หะวานนท์. องค์ความรู้ในเรื่องความเข้มแข็งของชุมชน ใน ทฤษฎีฐานรากในเรื่อง
ความเข้มแข็งของชุมชน. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการ วิจัย,
๒๕๕o.
ประเวศ วะสี. ชุมชนเข้มแข็ง ทุนทางสังคมของไทย: หนังสือชุดชุมชนเข้มแข็ง ลำดับที่ ด.
กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนเพื่อสังคม ธนาคารออมสิน, ๒๕๔๒.
เลขาธิการสภาการศึกษา, สำนักงาน. แนวทางการพัฒนานโยบายการเรียนรู้นอกระบบโรงเรียน
และการเรียนตมอัธยาศัย เพื่อการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตามปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงและภูมิปัญญาไทย. กรุงเทพมหานคร: ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศ
ไทย, ๒๕๕๓.
วรวุฒิ โรมรัตนพันธุ์. ทุนทางสังคม. กรุงเทพมหานคร: โครงการเสริมสร้างการเรียนรู้เพื่อหุมซนเป็น
สุข, ๒๕๔.๘.
ส่งเสริมสัดมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพยาวชน, สำนักงาน. เอกสารนโยบายเพื่อเผยแพร่
แนวความคิด การส่งเสริมสัดมแห่งการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพเยาวชน มาตรการ
สำคัญเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ ๒. กรุงเทพมหานคระ
สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่การเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน, ๒๕๕๔
สุวรรณี คามั่น. ทุนทางสังคมกับการพัฒนาทุนมนุษย์: เอกสารการสัมมนาวิชาการประจำปี
๒๕๕๑ เรื่องสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร: สานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ๒๕๕๑.
อวยพร เรืองตระกูล และคณะ. รายงานการพัฒนาตัวบ่งชี้และเครื่องมือวัดตัวบ่งชี้ ตาม
มาตฐานการศึกษของชาติมาตรฐานที่ ๒ แนวทางการจัดการศึกษาและมาตรฐานที่
๓ แนวทางการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเลขาธิการสภา
การศึกษา, ๒๕๕๒.
ปาน กิมปี. "ทุนทางสังคมกับการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย",วารสาร
กศน., ปีที่ ๔ (มษายน ๒๕๕๕)ะ ๓๕-๓e.
สุวิริตา จรุงเกียรติกุล. "สัดมแห่งการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน", วารสารครุศาสตร์, ปีที่ ๓๖
ฉบับที่ ๒ (พฤศจิกายน ๒๕๕๐-กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑): ๔๐-๕๘.
ชนันภรณ์ อารีกุล. "การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างความเข้มแข็งของทุนทางสังคมเพื่อการเป็น
สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดวิตอย่างยั่งยืน". วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
สาขาวิชาการศึกษานอกระบบโงเรียน. คณะครุศาสตร์: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
สาธารณสุข กระทรวง, กระบวนการประชาสังคมเพื่อการพัฒนาเมืองน่อยู่ กรณีศึกษาจังหวัด
เพชรบุรี: รายงานการวิจัยสนับสนุนองค์การอนามัยโลกและกรมอนามัย.
กรุงเทพมหานคร: กรมอนามัยและสำนักงานสาธารณสุข จังหวัดเพชรบุรี, ๒๕๔๓.
สุวิธิดา จรุงเกียรติกุล. “อนาคตภาพรูปแบบสังคมแห่งการเรียนรู้เพื่อการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์
เชิงบวกสาหรับชุมชน”. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต. สาขาวิชาการศึกษานอก
ระบบโรงเรียน, ภาควิชานโยบาย การจัดการ และความเป็นผู้นาทางการศึกษา. บัณฑิต
วิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๔.
Edward, R. Changing Places : Flexibility, Lifelong Learning and a Learning
Society. Lincoln: Routledge Taylor & Francis Group, 1997.
European Council and European Commission. Key Competencies for a Changing
World: Draft 2010 Joint Progress Report of the Council and the
Commission on the Implementation of the Education & Training 2010
Work Programme. Brussels: European Council and European Commission,
2010.
Field J. Social Capital. London: Rout ledge, 2003.
Grootaert, C., and Basielaer, J. Understanding and Measuring Social Capital: A
Multi Disciplinary Tool for Practitioners. Washington D.C.: The World
Bank, 2002.
Halpern, D. Social Capital. Malden: Polity Press, 2008.
Schuller, T. Social Capital, Human Capital and Sustainable Development.
[Online]. Available from: http://www.open.ac.uk/lifelonglearning/
papers_TomSchuller-paper.doc [2015, June 22].
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2016 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น