รูปแบบการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ของเทศบาลตำบล ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ผู้แต่ง

  • นิมิตร โสชารี สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลยราชภัฏมหาสารคาม

คำสำคัญ:

รูปแบบ, การพัฒนา, องค์กรแห่งการเรียนรู้

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อศึกษาระดับการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของเทศบาลตำบล ๒) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ของเทศบาลตำบลและ ๓) เพื่อสร้างรูปแบบการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ของเทศบาลตำบลในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนื วิธีดำเนินการวิจัยแบ่งป็น ๒ ระยะ ได้แก่ ระยะที่ ๑ เป็นการศึกษาการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และปัจจัยชิสาเหตุที่มีผลต่อการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ของเทศบาลตำบลในเขตภาคตะวันออกเฉียเหนื กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ เทศบาลตำบลในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน ๓๐๐ แห่ง การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างใช้เกณฑ์ ๒๐ หน่วยต่อ ๑ตัวแปร ใช้วิธีการมตัวอย่าแบบแบ่งชั้นภูมิ ส่วนผู้ให้ข้อมูลเป็นพนักงานเทศบาล จำนวนแห่งละ ๑คน รวมเป็น ๓๐๐ คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า ๕ ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิพรรณนา สหสัมพันธ์เพียร์สัน และการวิเคราะห์สมการเชิงโครงสร้าง (StructuralEquation Modeling : SEM) โดยโปรแกรมลิสเรล (LSREL) และวิธีดำเนินการวิจัย ระยะที่ ๒ เป็นการสร้างรูปแบบและวิพากษ์รูปแบบการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ของเทศบาลตำบลในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ดำเนิการตามเทคนิคเดลฟาย (Delphi Technique) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ผู้เชี่ยวชาญหาด้นองค์กรแห่งการเรียนรู้และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน ๒๐ คน ที่ได้มาจากการเลือกแบบเฉพาะเจาะจ ผู้วิจัยนำผลการวิจัยที่ได้จากระยะที่ ๑ และระยะที่ ๒ ไปสร้างรูปแบบการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ของเทศบาลตำบลในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และนำรูปแบบที่สร้างขึ้นไปปรึกษาผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อประเมินยืนยันรูปแบบการพัฒนาองค์กรแห่การเรียนรู้ของเทศบาลตำบลในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือให้สมบูรณ์ขึ้นผลการวิจัย พบว่า๑. ระดับการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของเทศบาลตำบลในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือโดยภาพรวมอยู่ในะดับมาก เมื่อพิจรณาเป็นรายค้นพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับความสำคัญค่าเฉลียจกมากไปหาน้อยได้ ดังนี้ ด้านความรอบรู้ของตนเอง ด้านแบบแผนความคิดอ่าน ด้านการคิดอย่างเป็นระบบ ด้านการมีวิสัยทัศน์ร่วม และด้านการเรียนรู้ของทีมงาน ตามลำดับ๒. ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ของเทศบาลตำบลในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนื โดยเรียงลำดับค่สัมประสิทธิ์อิทธิพลจากมากไปหาน้อย ดังนี้ บรรยากาศและวัฒนธรมองค์กร (0.m๒) การจูงใจ (o.๒๘) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง (๑.๒๓) ความสามารถของบุคลากรและทีมงาน (๐.๑๖) การจัดการความรู้ (๐,๑๔) และการบริหาร (-๐.๒๖) โดยปัจจัยดังกล่าวมีอิทธิพลต่อการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ของเทศบาลตำบลในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้ร้อยละ ๓๗. ๘๐ (R' = 0.378 , p-value .05) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๕ ซึ่งรูปแบบความสัมพันธ์ของปัจจัยเชิงสาเหตุความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (X 14.01, df-13, p-value=0.37, GFI=0.99, AGFI=0.95, RMSEA=0.01,RMR=0.01, CN=592.057)๓.รูปแบบการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ของเทศบาลตำบลในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบด้วย การพัฒนาบรรยากาศและวัฒนธรรมองค์กร และการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ซึ่งทั้งสองประการมุ่งเน้นการส่งเสริมและผลักดันไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ให้ประสบความสำเร็จ โดยจะต้องกระทำผ่นการพัฒนาทางการบริหารการพัฒนาความสามารถของบุคลากรและทีมงาน การพัฒนาการจัดการความรู้ และการพัฒนาการจูงใจ

References

(๑) หนังสือ:
นงลักษณ์ วิรัชชัย. โมเดลลิสเรล : สถิติวิเคราะห์สำหรัการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพมหานคร
: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๒.
วีรวุธ มาะศิรนนท. วินัย ๕ ประกา พื้นฐานองค์กรการเรียนรู้. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพๆ :
เอ็กซเปอร์เน็ก, ๒๕๔๐.
สุภมาส อังศุโชติ และคณะ. สถิติวิเคราะห์สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์
: เทคนิคการใช้โปรแกรม LISREL. กรุงเทพมหานคร : มิสชั่นมีเดีย, ๒๕๕๑.
สุวิมล ว่องวาณิชการวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๘.
(๒) วารสาระ
เบญจพ พึงไชย. "การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ในทัศนะของบุคลากร," วารสารวิชาการ
มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย. ๔(๑), ๑๒-๑๘, ๒๕๕๓.
พรกมล นุ่มหอม. เจริญวิชญ์สมพงษ์ธรม และภารดี อนันต์นาวี. "การพัฒนาตัวบ่งชี้ความเป็น
องค์การแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนเอกชน ประเภทอาชีวศึกษา". วารสารการบริการ
การศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา, ๓ (๑), ๓o-๔๖, ๒๕๕๑.
พิมพ์มาส รังสรรค์สฤษดิ์."รูปแบบการพัฒนความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียน
มัธยมศึกษาขนาดใหญ่สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน".
วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย, ๓ (๒), ๒e-๒๘, ๒e๕๒.
สัญญา เคณาภูมิ. "รูปแบบการเขียนกรอบแนวคิดการวิจัยทางการบริหารจัดการ". วารสาร
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๓ (กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๗)
สมศักดิ์ ดลประสิทธิ์ "การศึกษาคือพลังอำนาจแห่งชาติ," วารสารการศึกษาไทย, ๗ (มกราคม -
เมษายน ๒๕๔๘)
(๓) วิทยานิพนธ์/รายงานการวิจัย:
ดรุณี โกมนเอก. "รูปแบบความสัมพันธ์ของปัจจัยชิสาเหตุต่อการเป็นองค์กรแห่งการ เรียนรู้ของ
มหาวิทยาลัยราชภัฏ" วิทยนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต.สาขาวิชาการจัดการ
มหาวิทยาลัยคริสเตียน, ๒๕๕๓.
มาลี สืกระแส. "การพัฒนารูปแบบองค์การแห่งการเรียนรู้ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา,"
วิทยานิพนธ์ปรัชญาตุษฎีบัณฑิต. สาขาวิชการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยสยาม,
๒๕๕๒.
นภดล ธรรมวัฒนะ. "การพัฒนารูปแบบองค์การแห่งการเรียนรู้ของคณะนิติศาสตร์ ของ
มหาวิทยลัยเอกชนในประเทศไทย," วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต.สาขาวิชาการ
บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยสยาม, ๒๕๕ต.
สุวพักตร์ วศม์วิบูลย์. "การพัฒนรูปแบบการบริหารองค์การแห่งการเรียนรู้ของวิทยาลัย
พยาบาล สังกัดกระทรวงกลาโหม". วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต.สาขาวิชาการ
บริหารการศึกษามหาวิทยาลัยสยาม, ๒๕๕๒.
(๔) เว็บไซต์
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. ข้อมูลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา
:http://www.dla.go.th/work/abt/index/jsp [๑๕สิงหาคม ๒๕๕๗].
สำนักมาตรฐานการบริหารงนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. สรุปผลการประเมินมาตรฐานปฏิบัติ
ราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประจำปี ๒๕๕๘. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา :
http://www.dla.go.th/servlet/TemplateOrganizeServlet? [๑๕มีนาคม ๒๕๕๘].
๒. ภาษาอังกฤษ
(I) Books:
Joreskog, K. G. and Sorbom, D. LISREL 8User's Reference Guild Cuild. Chicago :
Scientific Software International, 1998.
Goh, S. and Richards, G, "Benchmarking the Learning Capability of Organization,"
European Management Journal, 15(5), 575-583, 1997.
Zhang, D., Zhang, Z,, and Yang, B, "Learning Organization in Mainland China :
Empirical Research on its Application to Chinese State-Owned Enterprises,"
International Journal of Training and Development, 8 (4), 258-273, 2004.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2016-08-20

How to Cite

โสชารี น. (2016). รูปแบบการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ของเทศบาลตำบล ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ . วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 5(2), 27–42. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/245403