การศึกษาเปรียบเทียบความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทนของหลักทรัพย์ กลุ่มขนส่งและโลจิสติกส์ โดยใช้แบจำลองตั้งราคาหลักทรัพย์ CAPM: กรณีศึกษาหลักทรัพย์ THAI TSTE, TTA, BMCL, RCL
บทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทนที่ได้รับของหลักทรัพย์กลุ่มขนส่งและโลจิสติกส์ กับความเสี่ยงและอัตราผลตอบที่ได้รับ ของตลาดและเพื่อศึกษาเปรียบเทียบอัตรผลตอบแทนที่คาดหวังกับอัตราผลตอบที่ต้องการของ
หลักทรัพย์กลุ่มขนส่งและโลจิสติกส์ โดยใช้แบบจำลอง CAPM ซึ่งมีหลักทรัพย์ในการศึกษาคือ หลักทรัพย์กลุ่มขนสและโลจิสติกส์ ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ประเทศไทยจำนวน ๕ หลักทรัพย์ ได้แก่ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยซูก้าเทอร์มิเนี้ล จำกัด (มหาชน)
บริษัท โทรีเชนไทย เอเยนต์ซีส์ จำกัด (มหาชน) บริษัท รถไฟฟ้ากรุงเทพ (มหาชน) และบริษัท อาร์ ซี แอล จำกัด (มหาชน)ทำการศึกษาใช้ข้อมูลทุติยภูมิเป็นรายวัน ตั้งแต่วันที่ ๔ มกราคม ๒๕๕๔ ถึง วันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๕ รวมป็นระยะเวลา ๘๙ วันทำการ เครื่องมือที่ในการศึกษาได้แก่ การ วิเคราะห์จากทฤษฎีการตั้งราคาหลักทรัพย์ Capital Asset Pricing Model (CAPM) ผลการศึกษาพบว่า หลักทรัพย์กลุ่มขนส่งและโลจิสติกส์ที่มีอัตราผลตอบแทนที่ต้องการ มากกว่าผลอัตราผลตอบแทนที่คดหวัง มี ด หลักทรัพย์ คื TSTE โดยหลักทรัพย์นี้มีมูลค่าต่ำกว่าที่
ควรจะเป็นมีค่ Undervalued มีความเหมาะสมและคุ้มคำแก่การลงทุน ดังนั้นนักลุงทนควร ตัดสินใจ ลงทุนหรือซื้อหลักทรัพย์นั้นไว้เพราะหลักทรัพย์ดังกล่าวมีโอกาสจะปรับตัวสูงขึ้น ส่วน หลักทรัพย์ที่มีอัตรผลตอบแทนที่ต้องการน้อยกว่าผลอัตรผลตอบแทนที่คาดหวัง มี ๔ หลักทรัพย์
คือ THA, TA, BMC แล RCL โดยหลักทรัพย์เหล่นี้มีมูลค่าสูงกว่าที่ควรจะเป็นมีค่า Overvalued ไม่คุ้มค่ที่จะลงทุน ดังนั้นนักลุงทนควรตัดสินใจไม่ลงทุนหรือขายหลักทรัพย์นั้นเพราะ หลักทรัพย์ดังกล่าวมีโอกาสจะปรับตัวต่ำลง
References
กิตติยพร คขาอนันต์ และกิตติพันธ์ คงสวัสดิ์เกียรติ "การวิเคราะห์อัตราผลตอบแทนและความ เสี่ยงจากการลงทุนในหลักทรัพย์กลุ่มธนาคารพาณิชย์โดยใช้ทฤษฎีการตั้งราคา หลักทรัพย์(CAPM)" หลักสูตบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรังสิต.b๕๕๕.
จิรัตน์ สังข์แก้ว "การลกุน พิมพ์ครั้งที่ ๖. กรุงเทพฯ โรงพิมพ์มาหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ๒๕๔๙.
ชญานิศ ชัยศิริ "ความสัมพันธ์ระหว่างผลตอบแทนและความเสี่ยงโดยใช้ทฤษฎี Captial Asset Pricing Model : CAPMกรณีศึกษา ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย "คณะบริหารธุรกิจ (Business Administration) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.๒๕๕ต.
พรวรรณ นันกแพศย์ "อัตราผลตอบแทนและความเสี่ยงแบบจำลอง CAPM ในหลักทรัพย์กลุ่ม ธนาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย" รองคณบดี คณะบริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยศรีปทุม. ๒๕๕๒.
วิไลพรณ ตาริชกุล "รูปแบบจำลอง CAM การศึกษาเปรียบเทียบความเสี่ยงและอัตรา ผลตอบแทนของหลักทรัพย์กลุ่มธนคาร" วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมาหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง. ๒๕๕ด.
ศศิธร กาญจนาประเสริฐ และกิตติพันธ์ คงสวัสดิ์เกียรติ การศึกษาเปรียบเทียบความเสี่ยงและ อัตราผลตอบแทน ของหลักทรัพย์กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยใช้แบบจำลอง CAPM" หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรังสิต. ๒๕๕๕.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2018 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น