กลยุทธ์การสื่อสารธรรมะ เพื่อพัฒนาเยาวชน กรณีศึกษาค่ายคุณธรรมและศูนย์การเรียนรู้พระพุทธศาสนาในพุทธมณฑล

ผู้แต่ง

  • พระมหาสุวัฒน์ เพ็ชรรักษา มหาวิทยาลัยมหิดล

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสค์เพื่อศึกษา ๑) กระบวนการสื่อสารธรรมะ ๒) กลยุทธ์การสื่อสารธรรมะ ๓) ความรู้ ทัศนคติ และความพึงพอใจของผู้เข้าอบรมธรรมะ ซึ่งใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึษาจากกรสังเตการณ์แบมีส่วนร่วม การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสนทนากลุ่มพระวิทยากร

และผู้เข้าอบมรรรมะ จำนวน ๓๖ รูป/คน และใช้วิธีวิจัยเชิงปริมาณ โดยการใช้แบบสอบถาม เพื่อ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างของผู้เข้ารับการอบรม จำนวน ๓๐๙ คน 

ผลการวิจัยพบว่า 

๑) กระบวนการสื่อสารรรมะ เป็นการสื่อสารกลุ่มใหญ่ โดยมากจะเป็นการสื่อสารแบบกึ่งทางการ มืองค์ประกอบของการสื่อสารที่มีประสิทธิภพ ประกอบด้วย (๑) ผู้ส่งสาร เป็นผู้มีความรู้ทั้ง ทางโลกและทางธรม มีความสามารถในการสื่อสารที่ดี มีประสบการณ์มาก มีบุคลิกภาพที่น่าเชื่อถือ

สูง และมีความป็นกันเอง (๒) สาร มีทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ แบ่งเป็น ๓ ภาค คือ ภาค นันทนาการ ภาควิชาการ และภาคจิตภาวนา (๓) สื่อ นั้นจะผสมผสานหลากหลายสื่อเข้าด้วยกัน ประกอบด้วย สื่อบุคคล สื่อธรรมชาติ สื่ออิเลคทรอนิกส์สื่อสิ่งพิมพ์ สื่เทคโนโลยีสมัยใหม่ สื่อวัตถุ

จำลองและสิ่งของ สื่อภาพนิและภาพคลื่อนไหว และสื่อเสียงดนตรีเสียงเพลง (๔) ผู้รับสาร มีความ แตกต่างกันไปตามอายุ เพศ การศึกษา การเป็นอยู่ เป็นตัน

๒) กลยุทธ์การสื่สารธรรมะ คือใช้เทคนิคหรือวิธีการสื่อสารที่หลากหลายผสมผสานกันไป ได้แก่ (๑) กลยุทธ์การเผยแผ่ตามหลักพุทธวิธี (๒) กลยุทธ์การสื่อสารทางวัจนภาษาประกอบด้วยการ พูดคำกลอน พูดย้อนองอิงคนสำคัญ ผูดมีสีสันด้วยการเล่นคำ พูดนำแล้วให้พูดตาม พูดหยุดความ

แล้วให้พูดต่ พูดล้อด้วยภษาถิ่ พูดเป็นศิลปัภาษาวัยรุ่น พูดหนุนด้วยภาษาต่างประเทศ พูดเปรียบเทียบอุปมา พูดจาภาษาเป็นกันเองพูดถึงเสียงกระแสสังคม พูดนิยมด้วยประสบการณ์จริง พูดอิงนิทานชดก และพูดกปัญหถมตอบ (๓) กลยุทธ์การสื่อสารทางอวัจนภาษาเพื่อเสริมวัจนภาษา

(๔) กลยุทธ์การใช้สื่แบบบูรณาการผสมผสานให้เข้ากรอบรม (๕) กลยุทธ์การสื่อสารโน้มน้าวใจและใช้จิตวิทยาการสื่อสาร

๓) ความรู้ ทัศนคติ และความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมอบรมธรรมะในค่ายคุณธรรม จำนวน ๓๙ คน พบว่ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องราวทางพระพุทธศาสนาเพิ่มมากขึ้น มีทัศนคติในระดับที่ดีต่อกระบวนการสื่อสารและกลยุทธ์การสื่อสาร ตลอดทั้งมีความพึงพอใจอย่าง

มากในการเข้าร่วมอบรมธรรมะนี้

 

 

References

ญาณิศ รัตนฤกษ์วศิน. กรปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐนกับการเปลี่ยนแปลงทัศนคติบุคลิกภาพและพฤติกรมการสื่อสาร. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาภาษาและ วัฒนธมเพื่อการสื่สารและการพัฒนา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๕๑.
พระมหาศักดิ์พิชิต ฐานสิทโธ. บทบาทการเผยแผ่พุทธธรรมของพระวิสุทธาธิบดี (วีระ ภกทจารี),วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาธรรมนิเทศ. บัณฑิตวิทยาลัย :มหาวิทยามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาสัย, ๒๕๔๙.
ภรินท ทองลิ่ม. กลยุทธ์การสื่สารในโครงการพัฒนาจิตและคุณภาพชีวิตที่มีผลต่อการตัดสินใจเลิกยาเสพติดแบบฉับพลัน. วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชานิเทศศาสตรพัฒนาการ. บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓.
วิเซียร เกตุสิห์ คู่มือการวิจัย : กรวิจัยเชิงปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ ต. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์,๒๕๓๗.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2013-04-30

How to Cite

เพ็ชรรักษา พ. (2013). กลยุทธ์การสื่อสารธรรมะ เพื่อพัฒนาเยาวชน กรณีศึกษาค่ายคุณธรรมและศูนย์การเรียนรู้พระพุทธศาสนาในพุทธมณฑล. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 2(1), 42–59. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/245247