การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์และเจตคติต่อการเรียน เรื่อง การสร้างคำ กลุ่มสระการเรียนรู้ภาษไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ระหว่างวิธีสอนโดยใช้ปริศนาร้อยกรองกับเกม

ผู้แต่ง

  • อังคณา เกตุจันทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีความงหมายเพื่อเปรียบเทียบ ๑) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการสร้างคำกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษปีที่ ๑ โดยใช้วิธีสอนโดยใช้ปริศนาร้อยกรอง ระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียน ๒) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการสร้างคำ กลุ่มสระการเรียนรู้ภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธมศึกษที่ ๑ โดยใช้วิธีสอนโดยใช้เกม ระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียน ๓) ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน เรื่อง การสร้างคำ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ระหว่างวิธีสอนโดยใช้ปริศนาร้อยกรองกับเคม ๔) เจตคติของนักเรียนที่มีต่อการเรียนภาษาไทย เรื่อง การสร้างคำ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ระหว่างวิธีสอนโดย ใช้ปริศนาร้อยกรองกับเกม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนลานสักวิทย อำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ จำนวน

๒ ห้องเรียน ๖๐ คน ได้มาจกการสุ่มอย่างงย โดยการจับสลาก ครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ ๑) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปริศนาร้อยกรอง ๒) แผการจัดการเรียนรู้โดยใช้เคม ๓) แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีดความเชื่อมั่น ๑.๙ด๙ ๔) แบบวัดเจตคติต่อการเรียนภาษาไทย มีค่า

ความเชื่อมั่น o.๘๔ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหา คำฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การทดสอบที

ผลการวิจัยพบว่า

ผลสัมฤทธิ์ทาการเรียนภาษาไทย เรื่อง การสร้งคำ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัยมศึษปีที่ ๑ ที่สอนโดยใช้วิธีสอนดยใช้ปริศนาร้อยกรอง หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๑.๐๕ 

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทย เรื่อง การสร้างคำ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ที่สอนโดยใช้วิธีสอนโดยใช้เกม หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๑.๐๕ 

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษไทย เรื่อง การสร้างคำ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ของ นักเรียนชั้นมัธมศึกษาปีที่ ๑ ระหว่างวิธีสอนโดยใช้ปริศนาร้อยกรองกับเกมไม่แตกต่างกัน เจตคติตการเรียนภาษไท เรื่อง การสร้างคำ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ของนักเรียน ชั้นมัธมศึกษาปีที่ ๑ ระหว่างวิธีสอนโดยใช้ปริศนาร้อยกรองกับเกม ไม่แตกต่างกัน

References

๑. ภาษาไทย :
(๑) หนังสือ :
คมวิชการ. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕. กรุงเทพมหานคร : อักษรไทย, ๒๕๔๖.
กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑.กรุงเทพมหานคร : ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, ๒๕ ๕๑.
สามารถ ศักดิ์เจริญ. ปริศนาร้อยกรอง ๑. นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๓.

(๒) วิทยานิพนธ์
นุษรา พิมพิคอ. บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง การเรียนรู้คำศัพท์โดยใช้ปริศนาคำทาย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่งประเทศ สำหรับช่วงชั้นที่ ๒. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ๒e๕o.
พพิศ เถื่อนมณฑียร. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสนใจในการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ที่ได้รับการฝึกด้วยเกมที่ใช้คำถามต่างกัน.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ,๒๕๔๙.
รักษ์ตะวัน อุดมวัฒนกูล. การสร้างชุดกิกรรมเสริมทักษะการเขียนสะกดคำภาษาไทยไม่ตรงตามมาตรตัวสะกด โดยใช้เพลง เกม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนบ้านผาเวียง ตำบลแม่สิน อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย. วิทยานิพนธ์ปริญญา
มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, ๒๕๕๐.
ลลิตา อุ่นทอง. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องคำบาลี สันสกฤตที่ได้รับการสอนโดยใช้เกมกับการสอนแบปกติสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนบางกะปิ สุขุมนวพันธุ์อุปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ๒๕๕๐.

๒. ภาษาอังกฤษ
Zipke, Marcy. Teaching Metalinguistic Awareness and Reading Comprehension with Riddles (EJ817116). Education Resources Information Center, 2008.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2013-04-30

How to Cite

เกตุจันทร์ อ. (2013). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์และเจตคติต่อการเรียน เรื่อง การสร้างคำ กลุ่มสระการเรียนรู้ภาษไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ระหว่างวิธีสอนโดยใช้ปริศนาร้อยกรองกับเกม. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 2(1), 1–10. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/245236