การบริหารจัดการความโกรธ
บทคัดย่อ
ความโกรธเป็นอารมณ์ธรรมชาติของมนุษย์ที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ ความโกรธคือ อารมณ์ที่รุนแรงหรืความรู้สึกที่ไม่พอใจ มันมักจะแฝงความเป็นปรปักษ์และความตึงเครียดที่เกิด จากสัมผัสของกรบาดเจ็บหรือถูกกระทำการสบประมาท ความโกรธเกิดขึ้นในส่วนหนึ่งของสมองซึ่ง
ทำงานเป็นอิสระจกสมองส่วนความคิด (นิโอคอร์เท็ก) เมื่ออารมณ์ความโกรธได้ครอบงำบุคคล หนึ่งๆ ได้แล้ว เขาก็อาจจะขาดสติสัมปชัญญะและอาจกระทำการต่างๆ ก่อนที่สมองความคิดจะ สามารถควบคุมให้เป็นไปตามเหตุผลได้ สิ่งที่คนๆ นั้นได้แสดงออกในสภาวะขณะที่โกรธนั้นอาจจะ
เป็นสิ่งที่รุนแร่งน่สะพึกลัวหรือไม่รุนแรงและไม่ป็นอันตรายต่อตัวเขาและบุคคลอื่น นั่น ก็ขึ้นอยู่ ที่ว่า เขาได้เก็บสะสมสิ่งใดในคลังสมองด้นอารมณ์ (อมิกดาลา) ของเขา ความโกรธสามารถแบ่งได้ เป็นสองด้านคือ ความโกรธที่ดี ซึ่งจะส่ผลให้เกิดการกลับใจและมีการปรับปรุงศีลธรรมให้ดีขึ้น
ความโกรธหรือพระพิโรธ มีลักษณะที่ประกอบด้วยอารมณ์หลักๆ ได้แก่ ความรัก ความสุข ความหวัง ความหวงแหน พระพิโรธ ความเกลียดชัง และความโศกเศร้ อีกด้านหนึ่งคือ ความโกรธ ที่ไม่ดี ซึ่งความโกรธชนิดนี้สมารถแบ่งออกเป็นสองอย่าง คือ ความโกรธแบบฉุนเฉียว (เกิดจาก
อารมณ์ชั่ววูบ) ซึ่งสามารถนำไปสู่ความผิดบาปได้ และความโกรธที่เกิดจากแผนการที่ชั่วร้าย ซึ่ง ความโกรธประเภทหลังนี้ สมารถนำมนุษย์ไปสู่ความหายนะ เช่น สงครามและการก่อการร้ายที่เห็น ได้อย่างดาษดื่นทั่วโลก จกพฤติกรมดังกล่ว ได้ก่อให้เกิดความอยากรู้ อยากเห็นและอยากสืบ
ค้นหาลักษณะอการ สาเหตุ โทษของความโกรธ รวมทั้งแนวทางป้องกันและวิธีแก้ไขความโกรธ จึง ได้ตั้งประเด็ ศึกษาในหัวข้อต่งๆ คือ ความโกรธหมายถึงอะไร ความโกรธมีกี่ชนิด มีสาเหตุเกิดจาก อะไรบ้าง ประกอบด้วยลักษณะอย่างไรบ้าง มีวิธีป้องกันและมีเทคนิคในการบริหารจัดการความ
โกรธอย่างไรบ้าง
References
เทคนิคการบริหารความโกรธ (Angry Management Technique). Daily Health บทความสุขภาพ. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http//www.todayhealth.org/daily angry-management technique.html. สืบค้นเมื่อ ๒๐ มิถุนายน ๒๕๕๗.
นิวัฒน์ บุญสม. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้. รายวิชา พ๓๐ด๐๔ สุขศึกษาและพลศึกษา. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน), หน้า ๒-๓.
พระธรรมเทศนาโดย : พระราชภาวนาวิสุทธิ์ (ชยบูลย์ รมมชโย). "มก. เล่ม ๕๗ หน้า ๓๗๙.
โรคเครียด/การจัดการความโกรธ (Anger Management Technique). [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http:/www.siamhealth.net/public _htm/Disease/neuro/psy.สืบค้นเมื่อ ๒๐ มิถุนายน ๒๕๕๗.สาธารณสุข.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2018 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น