การบริหารงานโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา โรงเรียนวัดซับบอนวิทยา จังหวัดเพชรบูรณ์

ผู้แต่ง

  • สุวัฒน์ อินทร์ประไพ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์

บทคัดย่อ

โรงเรียนกับชุมชนต้องประกอบด้วยการมีส่วนร่วมของชุมชน ประสานงาน บ้าน วัด โรงเรียน คือ สามประสนร่วมกันในลักษณะกัลยาณมิต อยงยั่งยืนได้ พราะเกิดจากจิตใจที่ ต้องการเข้าร่วมในกิกรมใดกิจกรรมหนึ่ง เพื่อให้เกิดผลต่อความต้องการของกลุ่มคนที่สอดคล้อง

กับวิถีชีวิตทางสังคม ทั้งนี้ ในการที่จะให้ชุมชนข้ามามีส่วนร่วมอย่างแท้จริงนั้น การจัดกิจกรรม เพื่อ การมีส่วนร่วม ต้องคำนึงถึวิถีการดำเนินชีวิต คำนิยม ประพณี ทัศนคติของบุคคล เพื่อให้เกิดความ สมัครใจเข้าร่วมกิจกรม เพราะกลุ่มคนในชุมชน มีความแตกต่างกันใน ลักษณะส่วนบุคคล ลักษณะทางเศรษฐกิ และการได้รับข้อมูลข่วสาร ทั้งนี้ การเข้ามามีส่วนร่วมของชุมชน ควรมีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ปัญหาของชุมช มีการวาแผนที่เหมาะสมและสอดคล้องกับวิถีชีวิต กำหนดกิจกรรม การดาเนินกิกรม และการประเมินผลกิจกรรม จัดขั้นตอนของการเข้ามามีส่วนร่วม และให้

ความสำคัญโดยใช้ชุมช เป็นศูนย์กลาง โดยโรงเรียนหน่วยงานภาครัฐช่วยเหลือ ให้คำแนะนำหรืออำนวยความสะดวกอย่างต่อเนื่อง  การบริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา เป็นกิจกรรมทางการศึกษาที่จะต้องทำเป็น กระบวนการ โดยกลุ่มบุคคลต่งๆ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสค์ที่ตั้งไว้ นั่นก็คือการพัฒนาสมาชิกหรือผู้รับบริการทางการศึษา ให้เป็นผู้มีคุณภาพที่สังคมต้องการ และเป็นภารกิจที่สำคัญยิ่งของผู้บริหารสถานศึกษาที่จะต้องสามารถนาองค์กรให้อยู่รอด ต้องกำหนดแผนงานวิธีการ ตลอดจนขั้นตอนต่างๆ 

ในการปฏิบัติงนไว้อย่างมีระบบ โดยพึ่งพิงงบประมาณจากรัฐที่มีไม่มากนักด้วยความประหยัด ใช้ทรัพยากรให้คุ้มคำ ทั้งคน งิ เวลาและทรัพย์สินอย่างอื่นพราะถ้ระบบบริหารภายในสถานศึกษาไม่ดี จะกระทบกระเทือนต่ส่วนอื่นๆ ของหน่วยงานได้ ดังนั้นความสำเร็จหรือความลัมเหลวในการ

บริหารสถานศึกษา จึงขึ้นอยู่กับสมรรถภาพของผู้บริหารสถานศึกษาเป็นสำคัญโรงเรียนการกุศลของวัดชับบอนวิทยา จังหวัดเพชรบูรณ์ จัดว่าเป็นทางเลือกอีกทางหนึ่ง ซึ่งได้รับอนุญาตให้จัดตั้งเป็นโรงเรียนตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พุทธศักราช ๒๔๘๘

ซึ่งได้จัดการเรียนการสอนแบบเตียวกับโรงเรียนสามัญทั่วไป ขณะเดียวกันก็มีจุดเน้นที่ต้องการให้นักเรียนนั้นมีคุณธรรมจริยธรรม

โดยมีจุดประสงค์ มุ่งเสริมสร้งความรู้ความเข้าใจในหลักธรรม ซึ่งนำไปสู่การประพฤติ ปฏิบัติตามหลักธรมและคิกมหางพระพุทธศาสนา อย่างถูกต้องโดยการควบคุมกาย วาจา ใจ ให้อยู่ในกรอบคุณธรรมจริยธรรมและวัฒนธรรมอันตีงาม ไม่เบียดเบียนตนเองและบุคคลอื่น

สามารถสร้างปะโยชให้แตนเองและสังคม ตลอดจนมีลักษณะของความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี เพื่อการดำรงตนเป็นพลมือที่ดีในสังคม ประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข 

References

ประภาศรี สีหอาไพ. พื้นฐานการศึกษาทางศาสนาและจริยธรรม. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓e.
อุดม ชำณิ สนักงานกลุ่มโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา. โรงเรียนพินิจ ประสาธน์ อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา. ปราจีนบุรี : เจตนารมณ์รมณ์ภัณฑ์, ๒๕๕๓.
สำนักงานเลขาธิการคุรุภา. เกณฑ์มาตรฐานผู้บริหารสถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๔๐.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน. การพัฒนาโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสน.กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์คุรุสภา, ๒๕๔๑.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่ชาติ. ความสำเร็จในการปฏิบัติภารกิจของวัดกรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๖.
พระไพศาล สุทธจิตโต (นทายะ) การบริหารงานโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา จ้งหวัดราชบุรี. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย: ๒๕๕๔.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2014-08-30

How to Cite

อินทร์ประไพ ส. . (2014). การบริหารงานโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา โรงเรียนวัดซับบอนวิทยา จังหวัดเพชรบูรณ์ . วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 3(2), 53–64. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/245222