เทคนิคการสอนเชิงรุก เรียนรูกประสบการณ์จาก Shelton College International ประเทศสิงคโปร์
บทคัดย่อ
บทความนี้เป็นการนำเสนอเนื้อหาการประสบการณ์เรียนรู้จาก Shelton College International ประเทศสิดโปร์ ที่เน้นการสอนเชิงรุกเพื่อหาเทคนิคการสอนที่เอื้ออำนวยต่อผู้เรียน โดยเน้นกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งในห้องเรียนและนอกโรงเรียนเพื่อต่อยอดสิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับ
ผู้เรียนให้ได้มากที่สุด และให้สอดคล้องกับหลัก ๓ H คือ Head (ความรู้ ความเข้าใจ) Hand (ทักษะ) และ Heat (จิตพิสัย ความรู้สึกดี) ผู้สอนเขียนวัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อหาเทคนิคการ สอนว่าในเรื่องนี้ ควรใช้วิธีการสอนอย่างไร จึงจะทำให้ผู้เรียนมีเป้าหมายที่ชัดเจนและบรรลุตามสิ่ง
ที่ตั้งไว้ จาการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการศึกษาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน กระบวนการ เรียนการสอนได้มีการพัฒนามากขึ้นตามการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจและเทคโนโลยีการสื่อสาร ที่มีการพัฒนาอย่งต่อเนื่อง จากการสอนในภาคทฤษฎีในห้องเรียน ทำแบบฝึกปฏิบัติ ตามคำสอน
ของผู้สอนเพียฝายเดียวนั้น มีผลทำให้ผู้เรียนขาดทักษะในการคิด การวิเคราะห์ นั่นเป็นเพราะ ความสนใจเรียนของผู้เรียนจะมีเพียง ๓ นาที ถึหนึ่ชั่วโมงเท่านั้น จึงทำให้บรรยากาศใน ห้องเรียนน่เบื่อ เพราะผู้สอนมีบทบาทในชั้นเรียนแต่เพียงผู้เดียวการสอนเชิงรุกที่เน้นการ
เปลี่ยนแปล คือการจะทำอย่างไรให้เด็กรักที่จะเรียนรู้ ด้วยการสร้างแรงบันดาลใจ สิ่งจูงใจ การปรับเปลี่ยนทัศนคติ การให้คุณคำ การสร้งแบบอย่างตลอดจนสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นที่ นำไปสู่สัดมฐานความรู้ ที่ป็นการฝึกนิสัยให้เด็กรักการสำรวจสืบคัน เปิดโอกาสให้เด็กท่องไปใน
โลกกว้างทั้งในโลกจริงและโลกสมือน รู้จักการใช้จิตนาการ รังสรรค์ความคิดใหม่ ๆ โดยการพัฒนา กระบวนการเรียนรู้ นอกห้องเรียน และนอกโรงเรียน นอกระบบ คู่ขนานไปกับกระบวนเรียนรู้ ใน ห้องเรียน และในระบบที่มีอยู่ ฉะนั้นการสอนเชิงรุกที่เน้นการเปลี่ยนแปลง เพื่อสอดรับความความ
เปลี่ยนแปลงของสังคมโลกตามแนวทฤษฎีกรสร้งความรู้ ป็นการเรียนรู้ผ่านการทำกิจกรรมแนวคิดการสร้าง ความรู้มุ่งน้นให้เด็กลงมือปฏิบัติจริง มีบทบาทในการค้นหาความรู้ด้วยตนเอง เป็นการเรียนรู้แบบ เชิงรุก ส่วนการฟังอย่างเดียวในห้องเรียนเป็นการเรียนรู้แบบเชิงรับ แบบการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม เด็กจะได้ซึซับความรู้ความข้ใจ ผ่นการเล่นเกม กิจกรรมกลุ่ม ให้เด็กได้พัฒนาแนวคิด ความรู้ เฉพาะตนขึ้นมาเอง
References
วัชรี เกษพิชัยณรค์และคณะ,การเรียนเชิงรุกและเทคนิควิธีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นการเรียนเชิงรุกะสถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้, มหาวิทยาลัยมหิดล
สุวิทย์ มษินทรีย์. โลกเปลี่ยน ไทยปรับ, กรุงเทพฯ : กรุงเทพธุรกิจ, b๕๕๖
Council for private Education in Singapore, (http://www.cpe. gov.se/for-peis/edutrust-certification-scheme/edutrust-certification-scheme)
Grabinger, R.S. Rich Environments for Active Learning. In David Jonassen.Handbook of Research for Educational Communications and Technology. 1996.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2018 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น