การศึกษาเปรียบเทียบความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทนของหลักทรัพย์หมวดธุรกิจวัสดุ ก่อสร้างโดยใช้แบบจําลอง CAPM : กรณีศึกษาหลักทรัพย์
คำสำคัญ:
หลักทรัพย์หมวดธุรกิจวัสดุก่อสร้าง, CAPM (Capital Asset Pricing Model), ค่าสัมประสิทธิ์เบต้า, ความเสี่ยงหลักทรัพย์หมวดธุรกิจวัสดุก่อสร้าง, ผลตอบแทนหลักทรัพย์หมวด ธุรกิจวัสดุก่อสร้างบทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 2) เพื่อศึกษาอัตราผลตอบแทนและความเสี่ยงของ แต่ละหลักทรัพย์หมวดธุรกิจวัสดุก่อสร้าง และ ๒) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบอัตราผลตอบแทนที่ คาดหวังภายใต้แบบจําลองการกําหนดราคาหลักทรัพย์ (Capital Asset Pricing Model, CAPM) กับ อัตราผลตอบแทนที่เกิดขึ้นจริงของหลักทรัพย์หมวดธุรกิจวัสดุก่อสร้าง ข้อมูลรวบรวมจากรายงานการ ซื้อขายหลักทรัพย์ของตลาดหลักทรัพย์ประเทศไทยประกอบด้วย SET INDEX และราคาหลักทรัพย์ หมวดธุรกิจวัสดุก่อสร้าง ซึ่งจะทําการศึกษาหลักทรัพย์หมวดธุรกิจวัสดุก่อสร้างที่จดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จํานวน 5 หลักทรัพย์ได้แก่บริษัท ดีคอนโปรดักส์ จํากัด (มหาชน) : DcCN, บริษัท ผลิตภัณฑ์ตราเพชร จํากัด (มหาชน) : DET, บริษัท ควอลิตี้คอนสตรัคชั่นโปรดักส์ จํากัด (มหาชน) : Q-CON, บริษัท โรแยล ทีรามิค อุตสาหกรรม จํากัด (มหาชน) : Rd, บริษัท ซุปเปอร์บล็อก จํากัด (มหาชน) : SUPER และบริษัท ทิปโก้แอสฟัลท์ จํากัด (มหาชน) : TAsco ทําการศึกษาโดยใช้ข้อมูลทุติยภูมเป็นรายวัน ตั้งแต่วันที่ 2 มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ถึงวันที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ รวมเป็นระยะเวลา ๔๘๔ วันทําการ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ การ วิเคราะห์จากทฤษฎี CAPM โดยใช้เส้นตลาดหลักทรัพย์ Secuites Market Line (SML)ผลการศึกษาพบว่า เมื่อเปรียบเทียบอัตราผลตอบแทนของหลักทรัพย์หมวดธุรกิจวัสดุ ก่อสร้างกับผลตอบแทนของตสาด พบว่าหลักทรัพย์หมวดธุรกิจวัสดุก่อสร้างที่ให้อัตราผลตอบแทนสูง กว่าตลาด มีจํานวน ๔ หลักทรัพย์ คือ CON, SUPER, DCON และ RC ตามลําดับและหลักทรัพย์ หมวดธุรกิจวัสดุก่อสร้างที่ให้อัตราผลตอบแทนต่ํากว่าตลาด มีจํานวน ๒ หลักทรัพย์ คือ DAT และ TASCO ตามลําดับ ค่าความเสี่ยงที่วัดโดยศาเบตาผลการศึกษาพบว่าความเสียงของตลาดหลักทรัพย์ มีค่าเท่ากับ ๑.๓๒๓๔ เมื่อเปรียบเทียบกับอัตราผลตอบแทนของหลักทรัพย์ในหมวดธุรกิจวัสดุ ก่อสร้างพบว่าหลักทรัพย์หมวดธุรกิจวัสดุก่อสร้าง TASCO, SUPER, RC, DAT, Q-CON และ DCON มีค่าความเสี่ยงที่ต่ํากว่าตลาด และเมื่อน้ําอัตราผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับของหลักทรัพย์หมวด ธุรกิจวัสดุก่อสร้างเทียบกับอัตราผสตอบแทนที่ต้องการตามแบบจําลอง CAPM พบว่าหลักทรัพย์ หมวดธุรกิจกลุ่มวัสดุก่อสร้างที่มีมูลค่าต่ํากว่าที่ควรจะเป็น (Undervalued) มี ๕ หลักทรัพย์ คือ หลักทรัพย์ DCON, DFT, -CON, RC และ SUPER และหลักทรัพย์หมวตธุรกิจวัสดุก่อสร้างที่มี มูลค่าสูงกว่าที่ควรจะเป็น (Overvalued) มี 2 หลักทรัพย์ คือ หลักทรัพย์ TAsco
References
สิริวรรณ โฉมจํารูญ, หลักและนโยบายการลงทุน, พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : ที่ที่เป็นเพรส,๒๕๔๔
ฉัญญา ขันธวิทย์, การวิเคราะห์ความเสี่ยงจากการลงทุนในหลักทรัพย์. กรุงเทพมหานคร : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, ๒๕๔
The Thai Bond Market Association. (2011-2012). Treasury bill. [Online]. Sources:from http://www.thaibma.or.th/priceyield/TBillQuoted.aspx February 26 2011
Weera Weerakhajorsak. Kittiphun khongsawatiiat. Asset Pricing in Energy SectorThe Evidence from Stock Exchange of Thailand. The First National Conference on Graduate Research for Business Management lood. May let, lood. University of the Thai Chamber of Commerce.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2018 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น