การมีส่วนร่วมทางการเมืองของสถาบันสงฆ์ในสังคมไทย
คำสำคัญ:
การมีส่วนร่วม, การเมือง, สถาบันสงฆ์, สังคมไทยบทคัดย่อ
การวิจัยคร!ังนี!มีวัตถุประสงค์เพ"ือศึกษาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของสถาบันสงฆ์ในสังคมไทย และเพื"อศึกษาหลักพระธรรมวินัย กฎหมายคณะสงฆ์ และกฎมหาเถรสมาคมที"มีความสัมพันธ์ต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของพระสงฆ์ โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง 3 กลุ่ม
ประกอบด้วย พระสงฆ์ พระสังฆาธิการ และประชาชนทัว" ไป ครอบคลุมพื!นท"ีทัว" ราชอาณาจักรท!ัง 5ภาค คือ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ และกรุงเทพมหานคร โดยใช้กลุ่มตัวอย่างภาคละ 300 รวม รวมท!ังสิ!น 1500 เคร"ืองมือท"ีใช้คือ แบบสอบถาม ผู้วิจัยได้ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม excel 2007 เพื"อหาค่าความถี",ค่าเฉลี"ย และค่าส่วนเบี"ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า พระสงฆ์ พระสังฆาธิการและประชาชนทั"วไปมีความเห็นว่า พระสงฆ์หรือสถาบันสงฆ์ไม่ควรเข้าไปยุ่งเกี"ยวกับการเมือง เพราะการเมืองมิใช่กิจของสงฆ์ แต่สามารถมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างสร้างสรรค์ เช่น การส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และการอบรมสั"งสอนประชาชนเกี"ยวกับหลักประชาธิปไตย
References
สำนักพิมพ์กรีน-ปัญญาญาณ, 2553.
กองบรรณาธิการเอเอสทีวี - ผู้จัดการ. 10 วิกฤตชาติ 52. กรุงเทพมหานคร: บ้านพระอาทิตย์,
2552.
จาตุรนต์ ฉายแสง. ความจริงวิกฤตประเทศไทย.พิมพ์คร!ังที 6, กรุงเทพมหานคร:
บริษัท เอ.อาร์. อินฟอร์เมชัน แอนด์ พับลิเคชัน จำกัด, 2552.
ดนัย ไชยโยธา. การเมืองและการปกครองของไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์,
2548.
ทินพันธุ์ นาคะตะ. พระพุทธศาสนากับสังคมไทย. พิมพ์คร!ังที 3, กรุงเทพมหานคร:
หจก.สหายบล็อก และการพิมพ์, 2544.
ธนา นวลปลอด. “ความคิดทางการเมืองในสุตตันตปิฏก” วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต.
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2536.
นรี ภวกานตานันท์. การเมืองการปกครองในแนวพุทธศาสนา.วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐศาสตร
มหาบัณฑิต ภาควิชาการปกครอง. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
2538.
นิธิ เอียวศรีวงศ์. พระพุทธศาสนาในความเปลี!ยนแปลงของสังคมไทย . กรุงเทพฯ:
มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2548.
บวรศักด"ิ อุวรรณโณ และถวิลวดี บุรีกุล. ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม.พิมพ์คร!ังที 3,
กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2548.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต) . ธรรมกับการพัฒนาชีวิต . กรุงเทพฯ : มูลนิธิพุทธธรรม , 2539.,(online)
http://www.watsamrong.com/tamma3.htm
พระสุตตันตปิฎก เล่ม 20 หน้า 186 , เล่ม 11 หน้า 231 (online) http://www.watsamrong.com/tamma3.htm
ยุคอนารยะ. ทางออกประเทศไทยในภาวะวิกฤต. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ไว้ลาย, 2553.
ลิขิต ธีรเวคิน. วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย.พิมพ์คร!ังท"ี 10, กรุงเทพฯ:
สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2550.
วิชัย ตันศิริ. วิกฤติการเมือง 2549-2550. ปทุมธานี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรังสิต,
2550.
วินัย ทับทอง. “อิทธิพลของพระสงฆ์ต่อการลงคะแนนเสียงเลือกตัง.” วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์
มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๙.
วุฒินันท์ กันทะเตียน. พระสงฆ์กับการเมือง: แนวคิดและบทบาทในสังคมไทยปัจจุบัน.
วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาศาสนาเปรียบเทียบ.
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2541.
ศรัณย์ เลิศรักษ์มงคล, พระสงฆ์กับการเข้าไปยุ่งเกย!ี วกับ การเมือง, (ออนไลน์),
http://www.vcharkarn.com/vblog/113376/1 Wed 7 July 2010, 9:34 pm
ศูนย์ข้อมูลมติชน. มติชนบันทึกประเทศไทยปี 2552. กรุงเทพมหานคร: มติชน, 2553.
________. มติชนบันทึกประเทศไทยปี 2553. กรุงเทพมหานคร : มติชน, 2554.
สนิท สมัครการ. การเปลย!ี นแปลงทางวัฒนธรรมกับการพัฒนาการของสังคม. พิมพ์คร!ังท"ี 6,
กรุงเทพ ฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2546.
สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. การเมือง : แนวความคิดและการพัฒนา.พิมพ์คร!ังท"ี 12 กรุงเทพฯ:
เสมาธรรม, 2545.
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก,
ประธานกรรมการมหาเถรสมาคม, (สั"ง ณ วันที" 2 มกราคม พ.ศ.2538 ) ข่าวสดรายวัน
วันที" 28 มีนาคม พ.ศ. 2553 ปีที" 19 ฉบับที" 7059 (online) www.khaosod.co.th
สุรพศ ทวีศักด#ิ ,ความคิดทางจริยธรรมกับการเลือกฝ่ ายทางการเมืองของพระสงฆ์ในสังคมไทย
ปัจจุบัน, มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต, 2552,หน้า 93.
สุรวิชช์ วีรวรรณ. วิวาทวาทกรรมเหลือง-แดง . กรุงเทพฯ: บ้านพระอาทิตย์, 2553.
อัญญดา แก้วกองกูล. การศึกษาเปรียบเทียบ : การประยุกต์ใช้หลักธรรมทางศาสนาในทางการเมือง
ตามทัศนะของพุทธทาสภิกขุและมหาตมะ คานธี ,วิทยานิพนธ์,
หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, ภาควิชาศาสนาเปรียบเทียบ ,
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2547.
เอนก เหล่าธรรมทัศน์. สองนคราประชาธิปไตย. พิมพ์คร!ังท"ี 7, กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ
, 2552.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2018 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น