การบริหารกิจการสาธารณะในโลกยุคโลกาภิวัตน์สู่การก่อตัวของนโยบายและกลยุทธ์ ในการพัฒนาประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • พลวศิษฐ หล้ากาศ มหาวิทยาลัยแห่งชาติเจิ้งจื้อ

คำสำคัญ:

การบริหารกิจการสาธารณะ, โลกาภิวัตน์, การก่อตัวนโยบาย, กลยุทธ์

บทคัดย่อ

ด้วยกระแสโลกาภิวัตน์ได้สร้างการเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม จนก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในการจัดการปกครองสาธารณะ ซึ่งทำให้การกำหนดนโยบายสาธารณะในแต่ละประเทศมีการปรับตัว เพื่อที่จะสามารถสร้างกลไกในการบริหารและพัฒนาประเทศได้ ซึ่งในปัจจุบันมีทั้งปัญหาภายในชาติ และปัญหาข้ามชาติที่มีขนาดใหญ่ ที่มีความหลากหลายมิติ และมีตัวแสดงในการปกครองสาธารณะที่สำคัญทั้งในรัฐและนอกรัฐ มีบทบาทสำคัญเพื่อจัดการปัญหา นำไปสู่การสร้างนโยบายสาธารณะ ทั้งการกำหนดนโยบาย การนำนโยบาย การปฏิบัติ ให้สอดคล้องกับกระแสจากโลกาภิวัตน์เข้ามามีผลกระทบในแต่ละประเทศ โดยใช้วิธีการศึกษาด้วยการวิเคราะห์ เอกสาร แลกรณีศึกษา เพื่อแสดงปัญหาและทางเลือกของนโยบายสาธารณะในบริบทโลกได้ โดยนำกรอบแนวคิดกระแสการเปลี่ยนแปลงต่อโลกดังกล่าวมาประยุกต์ปรับใช้ประเทศไทยในการบริหารกิจการสาธารณะและการสร้างนโยบาย ที่ปัจจุบันต้องการจะหลุดพ้นกับดักรายได้ปานกลาง ซึ่งจำเป็นต้องมีการปรับตัวต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงในโลกอย่างเท่าทัน เพื่อที่จะสามารถออกแบบกลยุทธ์และนโยบายสาธารณะในด้านต่างๆ มาพัฒนาชาติในด้านต่างเพื่อให้สามารถขจัดปัญหาดังกล่าวประเทศไทยต้องพัฒนาตนเองให้กลายเป็นประเทศพัฒนาให้เร็วที่สุดที่จะสำเร็จได้

References

AMRO. (2019). ASEAN+3 Regional Economic Outlook 2019: Building Capacity and Connectivity for the New Economy. Singapore: AMRO.

Chirico, J. (2014). Globalization: Prospects and Problems. Thousand Oaks, California: Sage Publication.

Chomsky, N. (2017). Who Rules the World? (American Empire Project). New York: Metropolitan Books.

Democracy Now. (2008). Naomi Klein: Wall St. Crisis Should Be for Neoliberalism What Fall of Berlin Was for Communism. Retrieved May 19, 2020, from https://www.democracynow.org/2008/10/6/ naomi_klein

Farazmand, A. (1999). Globalization and public administration. Public Administration Review, 12(6), 511-512.

George, M. T. (2007). Chapter 4 Globalization: The Major Players. George Ritzer: The Blackwell Companion to Globalization.

Gilpin, R. (2003) . The Nation-State in the Global Political Economy in The Global Transformations Reader: An Introduction the Globalization Debate. Second Edition David Held and Anthony Giddens, eds. McGrew Cambridge: Polity Press.

Greider, W. (2004). Wawasan 2020 in The Globalization Reader (2nd ed.). Malden: Blackwell Publishing.

Jones, C., & Pimdee, P. (2017). Innovative ideas: Thailand 4.0 and the fourth industrial revolution. Asian International Journal of Social Sciences, 17(1), 4-32.

Kingdon, W. J. (2010). Agendas, Alternatives, and Public Policies. London: Pearson.

Larkin Jr., P.J. (2012). John Kingdon's Three Streams" Theory and the Antiterrorism and Effective Death Penalty Act of 1996. Journal of Law & Politics, 28(1), 25-50.

MacMillan, J. (2006). Immanuel Kant and the democratic peace.Classical Theory in International Relations. Beate Jahn. (ed.). Cambridge: Cambridge University Press.

Mattelart, A. (2000). Networking the World 1794-2000. Minneapolis: University of Minnesota Press.

Robertson, R., & Chirico, J. (1985). Humanity Globalization and Worldwide Religious Resurgence. Sociological Analysis, 46(3), 220.

Schirato, J., & Webb, J. (2003). Understanding Globalization. London: Sage Publications.

Sidhu, G. (2007). Intergovernmental Negotiations and Decision Making at the United Nations: A Guide (2nd ed.). New York; Geneva: United Nations.

Sklair, L. (2002). Globalization: A Capitalism and Its Alternatives (3rd ed.). Oxford: Oxford University Press.

Swank, D. (2003). The Effect of Globalization Taxation, Institutions, and Control of the Macroeconomic. in The Global Transformations Reader. An Introduction in the Globalization Debate (2nd ed.). David Held and Anthony Giddens, eds. McGrew Cambridge: Polity Press.

Toffler, A. (2016). The Third Wave: Entrepreneur's Vision of the Future. New York: Simon and Schuster.

World Bank. (2019). Doing Business 2019: Training for Reform. Retrieved December 15, 2019, from www.doingbusiness.org

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-09-26

How to Cite

หล้ากาศ พ. (2020). การบริหารกิจการสาธารณะในโลกยุคโลกาภิวัตน์สู่การก่อตัวของนโยบายและกลยุทธ์ ในการพัฒนาประเทศไทย. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 9(3), 259–273. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/244394