วิถีทางแห่งการส่งเสริมและพัฒนาประชาธิปไตยอย่างยั่งยืน

ผู้แต่ง

  • สุมาลี บุญเรือง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

การส่งเสริม, พัฒนา, ประชาธิปไตย

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิถีทางแห่งการส่งเสริมและพัฒนาประชาธิปไตยอย่างยั่งยืน เพื่อเป็นรากฐานความเป็นระบอบประชาธิปไตยที่เข้มแข็ง จากการทบทวนเอกสาร งานวิจัย และทำการวิเคราะห์จากบทความต่าง ๆ สามารถวิเคราะห์วิถีทางแห่งการส่งเสริมและพัฒนาประชาธิปไตยอย่างยั่งยืนได้ 6 ประเด็น ดังต่อไปนี้ คือ 1) ความหมายของประชาธิปไตย 2) แนวคิดของประชาธิปไตย 3) ประเภทของการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย 4) องค์ประกอบสำคัญของความเป็นประชาธิปไตย 5) วิถีทางแห่งการส่งเสริมประชาธิปไตย  และ 6) การพัฒนาประชาธิปไตยที่ยั่งยืน เพื่อให้ประชาชนรักและพัฒนาท้องถิ่น ซึ่งเอื้อให้เกิดความสามัคคีในกลุ่มคนอันเป็นการบ่มเพาะประชาธิปไตยให้มีความยั่งยืนในสังคมด้วยความ รักและหวงแหนประเทศชาติ สืบไป

References

จรูญ สุภาพ. (2531). การเมืองการปกครองไทย. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพาณิชย์.

จำนงค์ ทองประเสริฐ. (2533). ปรัชญาตะวันตกสมัยโบราณ (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ถวิลวดี บุรีกุล. (2547). การมีส่วนร่วมของประชาชนเพื่อความเข้มแข็งและเป็นสุขในสังคม. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

ทัศนา บุญทอง. (2563). ประชาธิปไตย : แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ. สืบค้น 8 พฤษภาคม 2563, จาก http://www.consti tutionalcourt.or.th/occ_web/ewt_dl_link.php?nid=8876.

นพพล ชูกลิ่น. (2563). แนวทางประชาธิปไตยที่เหมาะสมในทัศนะผู้เขียน. สืบค้น 8 พฤษภาคม 2563. จากhttp://www.constitutionalcourt.or.th/occ _web/ewt_dl_link.php?nid=9645.

บุบผา เมฆศรีทองคำ. (2563). เสรีภาพของสื่อ: การจัดอันดับขององค์กรสื่อนานาชาติ. สืบค้น 8 พฤษภาคม 2563, จาก https://www.bu.ac.th/knowledge center/executive_journal/july_sep_11/pdf/aw33.pdf.

พระราชวรมุนี (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2540). ปรัชญากรีก บ่อเกิดภูมิปัญญาตะวันตก (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ศยาม.

พระอโณทัย กตปุญฺโญ. (2563). การส่งเสริมจิตสำนึกการเมืองภาคพลเมืองเพื่อการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของประชาชน อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 9(1), 47-58.

วิศาล ศรีมหาวโร. (2554). ประชาธิปไตยแบบตัวแทน : ปัญหาอุปสรรคและตัวแบบทางเลือกการพัฒนาการเมืองไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 3(2), 55-92.

สมยศ เชื้อไทย. (2550). หลักกฎหมายมหาชนเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: วิญญูชน.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2557). การพัฒนาการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

สุรพล สุยะพรหม. (2548). การเมืองกับการปกครองของไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

อมร จันทรสมบูรณ์. (2523). กฎหมายปกครอง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

อานันท์ ปันยารชุน. (2563). สู่บริบทใหม่ของประเทศด้วยธรรมาภิบาลในระบอบประชาธิปไตย สัมมนาวิชาการธนาคารแห่งประเทศไทยประจำปี 2558. สืบค้น 8 พฤษภาคม 2563, จาก https://www.pier.or.th/wpcontent /uploads/2015/09/Democratic-Governance-A-New-Normal-to-Strive-For.pdf.

Barro, R. J. (1999). Determinants of democracy. Journal of Political Economy, 107(S6), 158-183.

Becker, P. & Raveloson. J.A. (2008). What Is Democracy?. German: September.

Meyer, M. (2011). Democracy Reporting International (DRI). International consensus: Essential elements of democracy. The Office for the Promotion of Parliamentary Democracy of the European Parliament.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-09-26

How to Cite

บุญเรือง ส. (2020). วิถีทางแห่งการส่งเสริมและพัฒนาประชาธิปไตยอย่างยั่งยืน. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 9(3), 317–331. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/243324