วิเคราะห์พระพุทธศาสนาจากพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา
คำสำคัญ:
พระพุทธศาสนา, พงศาวดาร, กรุงศรีอยุธยาบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) ศึกษาประวัติพระพุทธศาสนาจากพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา 2) วิเคราะห์บทบาทและความสัมพันธ์สัมพันธ์ของพระพุทธศาสนาที่มีต่อสังคม และ 3) วิเคราะห์คตินิยมทางพระพุทธศาสนาที่มีต่อสังคม และที่สังคมมีต่อพระพุทธศาสนาสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยใช้วิธีระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ผลการวิจัยพบว่า กรุงศรีอยุธยาดำรงความเป็นราชธานีของไทยนับระยะเวลา 417 ปี มีกษัตริย์ปกครอง 33 พระองค์ แบ่งเป็น 5 ราชวงศ์ โดยในจำนวนนี้ มีบันทึกที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาจำนวนทั้งสิ้น 22 พระองค์ และส่วนที่ไม่พบบันทึกใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาจานวน 11 พระองค์ ที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา ส่วนใหญ่จะผูกติดอยู่กับสถาบันพระมหากษัตริย์ ซึ่งสอดคล้องกับลักษณะของพงศาวดาร ในส่วนของบทบาทและความสัมพันธ์ระหว่างพระพุทธศาสนากับสังคมไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา พบมี 2 ลักษณะ ลักษณะแรกเป็นส่วนที่พระพุทธศาสนาเข้าไปเกี่ยวข้องในมิติต่าง เช่น มิติทางด้านศาสนธรรม, ศาสนบุคคล, ศาสนพิธี, และศาสนวัตถุ ทาให้อยุธยาเป็นดินแดนพระพุทธศาสนาที่ยิ่งใหญ่ในอดีต และมรดกเหล่านั้นได้ตกทอดมาตราบเท่าถึงปัจจุบัน ลักษณะที่สองเป็นส่วนที่สังคมไทยได้เข้าไปเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา ส่วนนี้ถือเป็นอิทธิพลทางสังคม ซึ่งก็มีส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดสิ่งใหม่ ๆ ขึ้นในพระพุทธศาสนา มีทั้งที่สอดคล้องและต่างออกไปจากหลักการแห่งคาสอนเดิม ส่วนคตินิยมทางพระพุทธศาสนาที่มีต่อสังคมและคตินิยมทางสังคมที่มีต่อพระพุทธศาสนาสมัยกรุงศรีอยุธยาพบว่า คตินิยมทางพระพุทธศาสนามีผลก่อกำเนิดแบบแผนการดาเนินชีวิตสมัยกรุงศรีอยุธยาหลายประการ เช่น คตินิยมการปฏิบัติตนในวันธรรมสวนะ, คตินิยมการสร้างวัดเป็นอนุสรณ์, คตินิยมการผนวชของเจ้านายชั้นผู้ใหญ่, คตินิยมเรื่องช้างมงคล, คตินิยมการถวายการอุปถัมภ์พระพุทธศาสนา, คตินิยมเรื่องทศพิธราชธรรม เป็นต้น ทานองเดียวกัน คตินิยมในสมัยกรุงศรีอยุธยาก็มีส่วนสำคัญที่ทาให้เกิดคตินิยมต่าง ๆ ขึ้นในสังคมซึ่งมีผลต่อพระพุทธศาสนาเช่นกัน เช่น คตินิยมการสร้างพระพุทธรูปฉลองพระองค์, คตินิยมการให้มีมหรสพสมโภช, คตินิยมเรื่องเรื่องโชคลาง, คตินิยมเรื่องการถวายเครื่องทรงบูชาพระพุทธรูป เป็นต้น
References
กิตติ โล่เพชรรัตน์. (2557). มรดกอยุธยา. กรุงเทพฯ: ก้าวแรก.
กรมพระยาดารงราชานุภาพ. (2466). ตำนานคณะสงฆ์. พระนคร: โสภณพิพรรฒธนากร.
เจ้าฟ้าธรรมธิเบศ. (2509). พระมาลัยคำหลวง. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.
นิโกลาส์ แชรแวส. (2550). ประวัติศาสตร์ธรรมชาติและการเมืองแห่งราชอาณาจักรสยาม. สันต์ ท. โกมลบุตร ผู้แปล. พิมพ์ครั้งที่ 2.นนทบุรี: สานักพิมพ์ศรีปัญญา.
น. ณ ปากน้า. (2558).ห้าเดือนกลางซากอิฐปูนที่อยุธยา. กรุงเทพมหานคร: เมืองโบราณ.
บัญชา พงษ์พานิช และคณะ. (2559). จากอินเดียถึงไทย: รอยทางพระพุทธศาสนาแรก ๆ. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ปวัตร นวะมะรัตน. (2557). อยุธยาที่ไม่คุ้นเคย. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม.
พระพนรัตน์. (2535). จุลยุทธการวงศ์. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. (2455). พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา ภาค 1-3. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์ วรเดช พิมพ์ขึ้นเป็นส่วนพระกุศลทานมัยในงานพระศพพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรม หลวงวรเสฐสุดา.
พระเจนจีนอักษร (สุดใจ ตัณฑากาศ) ผู้แปล. (2476). จดหมายเหตุเรื่องพระราชไมตรีระหว่างกรุง สยามกับกรุง จีน.
พระนคร: โสภณพิพรรฒธนากร.
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2543).พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย 45 เล่ม. กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2552). พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล 91 เล่ม. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราช วิทยาลัย.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2545. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.
ลาจุน ฮวบเจริญ. (2555). เกร็ดพงศาวดารสยาม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:
ดวงกมล. แสงเพชร. (2556). เกร็ดประวัติศาสตร์บนแผ่นดินอยุธยา. กรุงเทพฯ: ไทยควอลิตี้บุ๊คส์ (2006).
องค์การศึกษา. (2503). ศาสนพิธีเล่ม 1. กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย.
พระครูศรีปัญญาวิกรม. (บุญเรือง ปญฺญาวชิโร/เจนทร). (2557). “การศึกษาเชิงวิเคราะห์สัญลักษณ์ ทางพระพุทธศาสนาในสังคมไทย”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิต วิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
Teun A Van Dijk. (1998). Ideology: A Multidisplinary Approach. New Delhi: S AGE Publishers. William Geddie. (ed.). (1970). Chambers’s Twenthieth Century Dictionary. New Delhi: Allied Publishers.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2020 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น