บทบาทอาจารย์ที่ปรึกษากับการนำนักศึกษาสู่ความเป็นพลเมืองโลก
คำสำคัญ:
อาจารย์ที่ปรึกษา, นักศึกษา, พลเมืองโลกบทคัดย่อ
อาจารย์ที่ปรึกษาได้แสดงบทบาทเปรียบเสมือนพ่อแม่คนที่สองของนักศึกษา จึงต้องใกล้ชิดรู้จัก และเข้าใจนักศึกษาทุกคน รู้จุดเด่นหรือลักษณะพิเศษของแต่ละคน พร้อมทั้งรู้จุดที่ต้องแก้ไขซึ่งจะต้องเป็นผู้ที่เก็บความลับของนักศึกษาได้ ไว้วางใจได้ นักศึกษาเชื่อถือ อาจารย์ที่ปรึกษาจะต้องทำหน้าที่ป้องกัน แก้ไข และส่งเสริมพัฒนาการของนักศึกษาอย่างเต็มที่ ในการป้องกันนักศึกษา คือ ให้ความรู้ ให้คาแนะนำในส่วนต่างๆ ที่ช่วยให้นักศึกษาได้รอดพ้นจากอุปสรรคทางการเรียนต่างๆ รวมถึงเรื่องส่วนตัว ส่วนการแก้ไข หมายถึง เมื่อนักศึกษาพบปัญหาใด ๆ จะต้องร่วมมือกับนักศึกษา แก้ไขอย่างทันที สำหรับการส่งเสริมพัฒนาการของนักศึกษา คือ การสนับสนุนนักศึกษาที่มีความสามารถพิเศษ ให้ได้พัฒนาตนเองให้เต็มศักยภาพอย่างเต็มที่ สิ่งที่อาจารย์ที่ปรึกษาช่วยเหลือ
นักศึกษาทั้งหมด ให้นักศึกษาประสบความสำเร็จจบการศึกษาทุกคนนั้น คือ รางวัลชีวิตของอาจารย์ปรึกษาที่น่าภูมิใจ
References
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์.รายงานคุณลักษณะสาคัญที่พึงประสงค์ของคนไทยตามแต่ละช่วงวัย.กรุงเทพมหานคร : สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2547.
ประณต เค้าฉิม. ปัจจัยด้านพฤติกรรมการ เรียนและการสนับสนุนทางสังคมที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิต คณะ มนษุยศาสตร์มหาวทิยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.วารสารพฤติกรรมศาสตร์12 (1), 72-93 : 2549.
นาตยา ปิลันธนานนท์.“การพัฒนาความเป็นพลเมืองโลก” ใน ประมวลสาระชุดวิชาสากลทรรศน์ศึกษา. นนทบุรี : บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,2537. เอกสารอัดสาเนา.
นิภาภัทร อยู่พุ่ม. การศึกษากับความเป็นพลเมืองโลก : มุมมองพระพุทธศาสนา. ในการพัฒนาคุณลักษณะความเป็นพลเมืองโลก.วารสาร บัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ ปีที่ 9 ฉบับพิเศษเนื่องในโอกาสเฉลิมฉลองวันวิสาขบูชา วันสาคัญสากลของโลก ประจาปี 2556.
บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2556.
ปริญญา เทวานฤมิตรกุล.การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง.กรุงเทพมหานคร : อักษรสัมพันธ์, 2555.
พระมหาวิศิต ธีรว โส, ผศ.การศึกษากับความเป็นพลเมืองโลก : มุมมองพระพุทธศาสนา, ในสาราณียธรรมกับการพัฒนาพลเมืองที่พึงประสงค์ในสังคมไทย.วารสาร บัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ปีที่ 9 ฉบับพิเศษ เนื่องในโอกาสเฉลิมฉลองวันวิสาขบูชา วันสาคัญสากลของโลกประจาปี 2556.บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2556.
ราชบัณฑิตยสถาน.พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542.กรุงเทพมหานคร : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชนั่ ส์, 2546.
สานักส่งเสริมการเมืองภาคพลเมือง สถาบันพระปกเกล้า.เอกสารโครงการพลเมืองวัยใสใส่ใจบ้านเมือง (หลักการและเหตุผล). กรุงเทพมหานคร : สถาบันพระปกเกล้า, 2553.เอกสารอัดสาเนา.
สิริวรรณ ศรีพหล. การพัฒนาชุดฝึกอบรมทางไกล เรื่องการจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาลักษณะความเป็นพลโลกของนักเรียนสาหรับครูสังคมศึกษา.รายงานการวิจัย.นนทบุรี :มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551.
สุมน อมรวิวัฒน์.สมบัติทิพย์ของการศึกษาไทย.กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2535.
Kniep, Willard M.“Social Studies With in a Global Educations.” inSocialEducation,(November-December, 1986 : 516-517).
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2020 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น