คุณลักษณะปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงบริการสุขภาพของแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า กรณีศึกษา กิจการต่อเนื่องประมง จังหวัดสมุทรสาคร

ผู้แต่ง

  • เพ็ชราภรณ์ ชัชวาลชาญชนกิจ

คำสำคัญ:

การเข้าถึงบริการสุขภาพ แรงงานต่างด้าว และ กิจการต่อเนื่องประมง

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณลักษณะของปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าถึงบริการสุขภาพของแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า ในกิจการต่อเนื่องประมงจังหวัดสมุทรสาครโดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพผู้ให้ข้อมูลสำคัญในการศึกษาคือ แรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า ที่ทางานอยู่ในสถานประกอบการธุรกิจกิจการต่อเนื่องประมง ในจังหวัดสมุทรสาคร สถานประกอบการธุรกิจกิจการต่อเนื่องประมง ในจังหวัดสมุทรสาคร และ เจ้าหน้าที่รัฐของหน่วยงานทางด้านสาธารณสุข
ผลการศึกษาพบว่า การเข้าถึงบริการสุขภาพของแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าในปัจจุบันมีขอบเขตที่กว้างขึ้น โดยปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าถึงบริการสุขภาพของแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า ประกอบด้วย (1) ทัศนคติต่อการเข้ารับบริการสุขภาพซึ่งมีคุณลักษณะสำคัญ คือความสามารถในการสื่อสารในการรับบริการของแรงงานต่างด้าว ความเชื่อในการรักษาพยาบาลแผนปัจจุบัน และทัศนคติเกี่ยวกับความเหลื่อมล้าทางสังคม (2) คุณลักษณะแรงงานต่างด้าว ซึ่งมีคุณลักษณะสำคัญ คือ รายได้ที่เพียงพอต่อการรับบริการระดับการศึกษาของแรงงาน และ สถานภาพของแรงงานตามกฎหมายและ (3) นโยบายสาธารณะด้านสุขภาพแรงงานต่างด้าวซึ่งมีคุณลักษณะสำคัญ คือ การส่งเสริมการให้บริการสุขภาพสิทธิที่ได้รับตามกฎหมาย และ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร

References

กรมการจัดหางาน สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว.กระทรวงแรงงาน. (2551) . สถิติแรงงานต่างด้าว. กรุงเทพฯ: กรมจัดหางาน สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว.
มูลนิธิรักษ์ไทย. (2550). การเสริมสร้างศักยภาพเครือข่ายและพันธมิตรที่ทางานด้านอนามัยเจริญพันธุ์และสุขภาพในกลุ่มประชากรเคลื่อนย้ายและประชากรชายแดนในภูมิภาคลุ่มนาโขง. กรุงเทพฯ: มูลนิธิรักษ์สุขภาพ.
สุรสม กฤษณะ:จูฑะ:และคณะ. (2550). สิทธิสุขภาพสิทธิมนุษยชน. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี:สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ.
สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. (2542). รายงานของคณะกรรมมาธิการวิสามัญศึกษาปัญหาสิทธิมนุษยชน.วุฒิสภา.พิจารณาศึกษาเรื่องปัญหาสิทธิมนษยชน. กรุงเทพ: สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา.
กฤตยา อาชวนิชกุลและพันธ์ทิพย์ กาญจนจิตรา สายสุนทร. (2548). คาถามและข้อท้าทายต่อไปนโยบายรัฐไทยในมิติสุขภาวะและสิทธิของแรงงานข้ามชาติ. กรุงเทพฯ :สถาบันวิจัยประชาชาติและสังคม. มหาวิทยาลัยมหิดล.
ไตรพล ตั้งมั่นคง. (2552). แรงานต่างด้าวชาวพม่า : แนวทางการดำเนินชีวิตอย่างสมานฉันท์ของคนชายขอบจังหวัดสมุทรสาคร. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
แนบ สุดสงวน. ( 2553). สถานภาพสิทธิในการรักษาพยาบาลของแรงงานต่างด้าวในราชอาณาจักรไทย. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
บัวลักษณ์ จันทระและคณะ. (2549). การเข้าถึงบริการสุขภาพภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าผู้สูงอายุในเขตเทศบาลขอนแก่น. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
พิลือ เขียวแก้ว .(2553) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเข้าถึงบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ.วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยทักษิณ.
ลือชัย วงษ์ทอง. (2555) ประสิทธิผลของการนานโยบายแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าไปปฏิบัติพื้นที่อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก. ดุษฎีนิพนธ์บัณฑิต. มหาวิทยาลัยบูรพา.
ศราวุฒิ เหล่าสาย. (2555) การเข้าถึงบริการด้านสุขภาพของแรงงานข้ามชาติชาวพม่าในโรงงานอุตสาหกรรมจังหวัดขอนแก่น . วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิ. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สมชาย นันทวัฒนากรณ์. (2552) การเข้าถึงบริการสุขภาพของแรงงานข้ามชาติในสถานีอนามัย สันพระเนตร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Golledge, R.(1980). A Behavioral View of Mobility and Migration Research. The Professional Geographer.3(2),14 21.
Millet, D. J. (1954). Management in public service: The quest for coeffectiveperformance. New York: Mcgraw-Hill.
Krejcie, R. V.,and Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research.activities. Educational and Psychological Measurement,30,607-710.
Penchansky, R. ,and Thomas, J.W. (1981).The concept of Access Definition and Relationship to Consumer Satisfaction.Medical. 19(2),127-140.
World Health Organization.(2004). Towards age-friendly primary health care.Geneva: World Health Organization.

เผยแพร่แล้ว

2020-04-11

How to Cite

ชัชวาลชาญชนกิจ เ. . . (2020). คุณลักษณะปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงบริการสุขภาพของแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า กรณีศึกษา กิจการต่อเนื่องประมง จังหวัดสมุทรสาคร. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 6(2-04), 645–658. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/241634