การสร้างภูมิคุ้มกันการเสพติดอินเทอร์เน็ตตามหลักอริยสัจ 4

ผู้แต่ง

  • วัยญา ยิ้มยวน

คำสำคัญ:

จิตวิเคราะห์; ทฤษฎีเสริมแรง; พระพุทธศาสนา

บทคัดย่อ

พฤติกรรมเสพติดอินเทอร์เน็ตสามารถอธิบายได้ตามแนวคิดจิตวิเคราะห์หรือทฤษฏี
เสริมแรง ซึ่งส่งผลต่อวิธีบาบัดรักษาอาการที่เป็นไปแบบแยกส่วนด้วยวิธีจิตบาบัดหรือปรับ
พฤติกรรม ซึ่งวิธีการที่มาจากรากฐานแนวคิดจิตวิทยายังคงเกิดพฤติกรรมกลับไปเสพติดซ้า ในขณะ
ที่พฤติกรรมเสพติดอินเทอร์เน็ตตามแนวคิดพระพุทธศาสนาอธิบายได้ว่า เป็นเพียงทุกข์รูปแบบหนึ่ง
ของชีวิตตามหลักอริยสัจ 4 ซึ่งมีสาเหตุหลักจากตัณหาในจิตใจและสภาพสังคมที่ขาดกัลยาณมิตร
เป็นปัจจัยร่วม ซึ่งเป็นมุมมองแบบภาพรวม แนวทางแก้ไขปัญหาใช้สัมมาทิฏฐิอันมีปัจจัยเกิด 2
ประการ ได้แก่ โยนิโสมนสิการเป็นฐานสร้างสติและปัญญาภายในจิตบุคคลเพื่อลดละตัณหาโดยตรง
และกัลยาณมิตรสร้างสังคมสิ่งแวดล้อมการใช้อินเทอร์เน็ตที่พึงประสงค์อันเป็นปัจจัยภายนอก
ดังนั้นบุคคลและสังคมจึงมีภูมิคุ้มกันการใช้อินเทอร์เน็ตด้วยปัญญารู้เท่าทันโดยไม่ต้องหลีกเลี่ยงหรือ
ตัดขาดจากอินเทอร์เน็ต จึงเป็นแนวทางที่สามารถใช้ทั้งแก้ไขและปูองกันพฤติกรรมเสพติด
อินเทอร์เน็ตอย่างถาวร

References

จาลอง ดิษยวณิช. (2554). ทฤษฎีจิตวิทยาบุคลิกภาพ. เชียงใหม่: บริษัทกลางเวียงการพิมพ์จากัด.
สานักงานสถิติแห่งชาติ. (2556). สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใน
ครัวเรือน พ.ศ.2555. กรุงเทพมหานคร: สานักสถิติเศรษฐกิจและสังคม.
ธนิกานต์ มาฆะศิรานนท์. (2545). พฤติกรรมการเสพติดอินเทอร์เน็ตและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ
การเสพติดอินเทอร์เน็ตของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตประเทศไทย. วิทยานิพนธ์นิเทศศาตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาวารสารสนเทศ. คณะนิเทศศาสตร์.บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ประพิมพ์พรรณ สุวรรณกูฏ และอัจศรา ประเสริฐสิน. (2552). ผลกระทบของอินเตอร์เน็ตต่อ
สุขภาพกาย และสุขภาพจิตของเด็กและเยาวชนไทย: กรณีศึกษากรุงเทพมหานคร.
รายงานการวิจัยกรุงเทพมหานคร: สานักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2555). พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย. กรุงเทพมหานคร:
สานักพิมพ์ผลิธัม.
American Psychiatric Association. (2013). DIAGNOSTIC AND STATISTICAL MANUAL OF
MENTAL DISORDERS. fifth edition. DSM-5. Arlington. VA: American
Psychiatric.
Kimberly. Young. (1996). Internet Addiction: The Emergence of a New Colincal
Disorder. Cyber Psychology & Behavior. 1(3). 237 - 244.
Kimberly. Young.. Molly. Pistner.. James. O'Mara.. and Jennifer. Buchanan. (2000).
Cyber Disorders: The Mental Health Concern for the New Millennium.
Cyber Psychology & Behavior. 3(5). 475 - 479.

เผยแพร่แล้ว

2020-04-11

How to Cite

ยิ้มยวน ว. . (2020). การสร้างภูมิคุ้มกันการเสพติดอินเทอร์เน็ตตามหลักอริยสัจ 4. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 6(2-04), 467–480. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/241619