การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ของป่าห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี

ผู้แต่ง

  • พระครูอุทัยวรกิจ (ณรงค์ สุปญฺโญ)

คำสำคัญ:

การมีส่วนร่วม, การอนุรักษ์, ทรัพยากรธรรมชาติ, ปุาห้วยขาแข้ง

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ คือ ๑) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติของปุาห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี ๒) เพื่อศึกษาหลักธรรมที่มี
ความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติของปุาห้วยขาแข้ง
จังหวัดอุทัยธานี และ ๓) เพื่อนาเสนอแนวทางในการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติของปุาห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี โดยกาหนดระเบียบวิธีวิจัยเป็นแบบ
ผสานวิธีเป็นวิจัยเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลสาคัญ จานวน ๒๒ รูป/คน ด้วยแบบสัมภาษณ์เชิง
ลึกที่มีโครงสร้าง โดยการสัมภาษณ์เกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติของปุาห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี จากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติของปุาห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี โดยหลักเกณฑ์การเลือกผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อ
เป็นผู้ให้ข้อมูลสาคัญใช้การเลือกแบบเจาะจงในการสนทนากลุ่มเฉพาะและการวิเคราะห์ข้อมูลโดย
การพรรณนาความ โดยการวิจัยเชิงปริมาณ ได้เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ
เท่ากับ 0.๘๖๒ จากกลุ่มตัวอย่างซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบอย่างง่าย จานวน ๓๘๔ คน สถิติที่ใช้ในการ
วิเคราะห์ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ปัจจัยที่
มีความสัมพันธ์ประสิทธิผลโดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า
๑. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติของปุาห้วยขาแข้ง
ด้านการตัดสินใจ มีการจัดตั้งคณะกรรมการในการดาเนินงานการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติปุา
ห้วยขาแข้ง ซึ่งจะประกอบไปด้วยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลายหน่วย ด้านการปฏิบัติการ มีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการขับเคลื่อนการแก้ไขและพัฒนาพื้นที่โดยมีการกาหนด ด้านการรับ
ผลประโยชน์ ประชาชนได้รับประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อม คือ เป็นแหล่งอาหาร และสร้าง
รายได้ ฝนตกต้องตามฤดูกาล และเป็นแหล่งท่องเที่ยว ด้านการประเมินผล ให้ประชาชนมีส่วนร่วมใน
การอนุรักษ์ ทากิจกรรม การทางาน
๒) หลักธรรมฆราวาสธรรม มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมเกี่ยวกับด้านสัจจะ มีความ
ตั้งใจที่จะอยู่กับธรรมชาติ ด้านทมะ ระมัดระวังมิให้ใครมาทาลายปุา ด้านขันติ อดทนต่อความโลภ
ในผืนปุาเพื่อประโยชน์ของตนเอง ด้านจาคะ เสียสละในการใช้ชีวิตเพื่อการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดอุทัยธานีโดยได้คณะกรรมการการดาเนินงาน หน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้อง ประชาชน ผู้นาชุมชน เยาวชนและเด็กต้องมีการนาเสนอข้อมูลที่เป็นจริง มีความซื่อสัตย์
ต่อท้องถิ่น ร่วมกันดูแลและอนุรักษ์ร่วมกัน และยังสัมพันธ์กับหลักสังคหวัตถุธรรม ในการอนุรักษ์
ต้องรู้จักให้เพื่อคืนความสมบูรณ์สู่ธรรมชาติ ทุกฝุายต้องทางานร่วมกันพูดคุยเพื่อใช้ชีวิตร่วมกับ
ธรรมชาติให้กลมกลืนมากที่สุดและต้องแนะนาข้อมูลที่เป็นจริงกับทุกฝุายเพื่อให้เกิดสัมพันธภาพที่ดี
และเอื้อเฟื้อระหว่างคนกับปุาและสัตว์
๓. แนวทางในการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
ของปุาห้วยขาแข้ง ดังนี้ ด้านการตัดสินใจ มีส่วนร่วมได้โดยการนาเสนอปัญหาต่างๆ ที่มีผลกระทบ
ต่อทรัพยากรธรรมชาติของปุาห้วยขาแข้ง ให้ประชาชนในพื้นที่มีส่วนร่วมในการลงมติและตรวจสอบ
เสริมสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ด้านธรรมชาติ จัดกิจกรรมการเผยแพร่ เพื่อกระตุ้นจิตสานึกให้เข้า
มามีส่วนร่วมอนุรักษ์ให้เป็นไปอย่างยั่งยืน ด้านการปฏิบัติการ เป็นผู้แทนของชุมชนเข้ามาเป็น
คณะกรรมการที่ปรึกษาเพื่อร่วมวางแผนกิจกรรมหรือโครงการที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ สร้างเครือข่ายจิตอาสาอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ กระตุ้นจิตสานึกของเยาวชน
ให้มีการอนุรักษ์ปุาและน้า “ร่วมคิด ร่วมทา และเป็นเจ้าของ” การเปลี่ยนจากผู้บุกรุกเป็นผู้ร่วม
อนุรักษ์ ฝึกอบรมให้ความรู้วิธีการอยู่ร่วมกันของประชาชนกับปุา และเรียนรู้ข้อกฎหมายต่างๆ ว่า
อะไรปฏิบัติได้ และปฏิบัติไม่ได้ ด้านการรับผลประโยชน์ มีคุณภาพชีวิตที่ดีในด้านอาหาร ที่อยู่
อาศัย เครื่องนุ่งห่ม และยารักษาโรค ยังสามารถเพิ่มรายได้ในชุมชน ครอบครัว ปุายังเป็นทุนในการ
ทาเกษตรกรรม คือ การที่มีน้าใช้เพียงพอในด้านเกษตรกรรม การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติของปุา
ห้วยขาแข้งยังสามารถสร้างความรัก ความสามัคคีในหมู่ประชาชนและชุมชนอีกด้วย ด้านการ
ประเมินผล การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของปุาห้วยขาแข้งประชาชนร่วมเสนอแนะ
แนวทางการพัฒนา ปรับปรุง แก้ไข วางแผน ร่วมแสดงความคิดเห็น นาเสนอปัญหาต่างๆ ร่วมกับ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ยังเป็นเวทีชี้แจงนโยบาย วิสัยทัศน์ การเป็นแหล่งเรียนรู้ มีระบบนิเวศที่
สมบูรณ์ แสดงให้เห็นว่าการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของปุาห้วยขาแข้งมี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดี

References

Wasin Komut and Group. (2552). Planning Development of Organization Between
Participation and the people of Phonngam Organization Administration.
Dissertation Graduate School : MCU.
Dad Zaluden . (2548). The Model of Administrative according to Buddhadhamma of
Provincial Administrative organization in lower Central Area. Dissertation
Graduate School, MCU.Athikom Reamsrisakul. (2557). Study Social Development Quality Of Live Of HIV
People For People Of The Upper Central Region. Dissertation Graduate
School : MCU.
Jakkraphong Phongngamchean and Group. (2555). Study The Holistic Well-Being
Administration For People Of The Upper Central Region. Dissertation
Graduate School : MCU.

เผยแพร่แล้ว

2020-04-06

How to Cite

(ณรงค์ สุปญฺโญ) พ. . (2020). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ของป่าห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 6(2-04), 67–82. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/241372