ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุปัจจัยการบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร และระบบการผลิตแบบลีนที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการบริหารจัดการ อุตสาหกรรมฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • สราวุธ แซ่ตั้ง

คำสำคัญ:

ระบบบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร, ระบบการผลิตแบบลีน, ฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยด้านการบริหาร
คุณภาพทั่วทั้งองค์กร (TQM) และปัจจัยด้านระบบการผลิตแบบลีน (LEAN) ที่มีอิทธิพลต่อ
ประสิทธิภาพการบริหารจัดการอุตสาหกรรมฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟในประเทศไทย (BP) มีประชากรในการ
วิจัยคือพนักงานของบริษัทผู้ผลิตฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟในประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างจานวนทั้งสิ้น 486
ราย เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม ผลการตรวจสอบความตรงของเนื้อหามีค่าอยู่ระหว่าง 0.71–
1.00 ผลการทดสอบหาค่าความเชื่อมั่นมีค่าอยู่ระหว่าง 0.859-0.978 ผลการทดสอบผลการทดสอบ
ค่าอานาจจาแนกรายข้อของแต่ละข้อคาถามมีค่าอยู่ระหว่าง 0.547-0.979 ผลการทดสอบสมการ
โครงสร้างกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พบว่า โดยปัจจัยด้านการบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กรและปัจจัย
ด้านระบบการผลิตแบบลีน มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการบริหารจัดการเท่ากับ 0.80 และ 0.16
ตามลาดับ ค่าน้าหนักองค์ประกอบของตัวแปรอิสระการผลิตแบบดึง ในปัจจัยด้านระบบการผลิต
แบบลีน มีค่าน้าหนักองค์ประกอบมากที่สุด 0.90 ค่าน้าหนักองค์ประกอบของตัวแปรอิสระภาวะ
ผู้นาการเปลี่ยนแปลง ของปัจจัยด้านการบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กรมีค่าน้าหนักองค์ประกอบน้อย
ที่สุด 0.51 ส่วนด้านตัวแปรตามประสิทธิภาพการบริหารจัดการ พบว่า ด้านคุณภาพมีค่าน้าหนัก
องค์ประกอบมากที่สุด 0.86 และด้านประหยัดมีค่าน้าหนักองค์ประกอบน้อยที่สุด 0.79 อย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

References

บุญชม ศรีสะอาด. (2546). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7 กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน์.
ยุทธ ไกยวรรณ์. (2556). การวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างด้วย AMOS. กรุงเทพฯ :
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รยานันท์ สิธาทิพย์. (2553). การค้าภายในอุตสาหกรรมเดียวกันและเครือข่ายการผลิต ศึกษา
กรณีอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ ชิ้นส่วนและส่วนประกอบ. (วิทยานิพนธ์ปริญญา
เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะเศรษฐศาสตร์, สาขาวิชา
เศรษฐศาสตร์.
สุวิมล ติรกานันท์.(2550). การสร้างเครื่องมือวัดตัวแปรในการวิจัยทางสังคมศาสตร์แนวทางสู่
การปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อุทุมพร จามรมาน. (2541).การสร้างและพัฒนาเครื่องมือวัดลักษณะผู้เรียน. (พิมพ์ครั้งที่ 3).
กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจากัด ฟันนี่พับลิชชิ่ง.
Ahmad, M.F. , Zakuan, N. , Jusoh, A. and Takala, J. (2012). Relationship of TQM
and Business Performance with Mediators of SPC, Lean Production and
TPM. Social and Behavioral Sciences 65. pp. 186-191.
Besterfield, D. (2009). Quality Control (8th ed.). New Jersey: Pearson Prentice
Hall.
Demeter, K., & Matyusz, Z. (2011). The impact of lean practices on inventory
turnover. International Journal of Production.
Field, A. (Ed.). (2005). Discovering statistics using SPSS (2nd ed.). Thousand
Okes,CA: Sage.
Schumacker, R. E., & Lomax, R. G. (2010).A beginner’s guide to structural
equation modeling (3rd ed.). New York: Routledge.
Yang, M.G. (Mark), Hong, P., & Modi, S.B. (2011). Impact of lean manufacturing
and environmental management on business performance: An empirical
study of manufacturing firms. International Journal of Production
Economics, 129(2), 251-256. Elsevier.

เผยแพร่แล้ว

2020-02-29

How to Cite

แซ่ตั้ง ส. . (2020). ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุปัจจัยการบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร และระบบการผลิตแบบลีนที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการบริหารจัดการ อุตสาหกรรมฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟในประเทศไทย. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 6(2-01), 313–322. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/240243