การพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์เสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ และทักษะ ทางสังคมของเด็กปฐมวัย โดยใช้แนวคิด เรกจิโอ เอมีเลีย และพหุสัมผัส
คำสำคัญ:
รูปแบบการจัดประสบการณ์, ความคิดสร้างสรรค์, ทักษะทางสังคม, เรกจิโอ เอมีเลีย, พหุสัมผัสบทคัดย่อ
บทความการวิจัยนี้ มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์เสริมสร้าง
ความคิดสร้างสรรค์และทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัยโดยใช้แนวคิดเรกจิโอ เอมีเลีย และพหุสัมผัส
2) ศึกษาผลการใช้รูปแบบ โดย เปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์และทักษะทางสังคมของเด็ก
ปฐมวัยกลุ่มทดลองก่อนและหลังได้รับการจัดประสบการณ์ เปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์และ
ทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัยกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมหลังได้รับการจัดประสบการณ์
เปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์และทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัยกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
ก่อนจัดประสบการณ์ ระหว่างจัดประสบการณ์ หลังจัดประสบการณ์และติดตามผล และ 3) ศึกษา
ความพึงพอใจของเด็กปฐมวัยที่มีต่อการจัดประสบการณ์ตามรูปแบบ ดาเนินการวิจัย 4 ขั้นตอน
คือ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน 2) พัฒนารูปแบบ 3) ทดลองใช้รูปแบบ และ 4) ประเมินผลและปรับปรุง
รูปแบบ กลุ่มตัวอย่าง คือเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 คือโรงเรียนบ้านโนนกุง จานวน 20 คน เป็นกลุ่มทดลอง และ
โรงเรียนบ้านเชียงสือ จานวน 20 คน เป็นกลุ่มควบคุม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่
ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติการทดสอบทีทั้งชนิด Dependent samples t-test และ
การทดลองใช้รูปแบบ พบว่า 1) ความคิดสร้างสรรค์และทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัยกลุ่มทดลอง
หลังได้รับการจัดประสบการณ์สูงกว่าก่อนได้รับการจัดประสบการณ์ 2) ความคิดสร้างสรรค์และ
ทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัยกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ
.05 3) ความคิดสร้างสรรค์และทักษะทางสังคม ของเด็กปฐมวัยกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมก่อนจัด
ประสบการณ์ ระหว่างจัดประสบการณ์ หลังจัดประสบการณ์ และติดตามผลแตกต่างกัน อย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 4) เด็กปฐมวัยกลุ่มทดลองมีความพึงพอใจต่อการจัด
ประสบการณ์ตามรูปแบบอยู่ ในระดับมาก
References
เบรน-เบส บุ๊ค.
ทิศนา แขมมณี และคณะ. (2550). รูปแบบการเรียนการสอนทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพฯ:
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เยาวพา เดชะคุปต์. (2542). การจัดการศึกษาสาหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ: บริษัทสานักพิมพ์
แม็กจากัด.
สุจินดา ขจรรุ่งศิลป์ และธิดา พิทักษ์สินสุข. (2543). การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยไทย: ตามแนวคิด
เรกจิโอ เอมีเลีย. กรุงเทพฯ: สถาบันแห่งชาติเพื่อการศึกษาสาหรับเด็กปฐมวัย
สานักงาน คณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และ
แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553. กรุงเทพฯ:
บริษัทพริกหวานกราฟฟิตจากัด. 2545.
สานักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้. การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยไทย:ตามแนวคิด
เรกจิโอ เอมิเลีย. กรุงเทพฯ: สานักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้.
2556.
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. มาตรฐานการศึกษาของชาติ. กรุงเทพฯ:
สยามบล็อกและการพิมพ์. 2548.ขวัญชนก ทองคุ่ย. (2556). “การพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์แบบเน้นประสบการณ์เพื่อ
ส่งเสริมความ ซื่อสัตย์สาหรับเด็กปฐมวัย”. วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต. (สาขาวิชา
หลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
จรีลักษณ์ จิรวิบูลย์. (2545). “การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนอ่านสาหรับนักเรียนระดับ
ประถมศึกษาที่ มีความบกพร่องในการเรียนรู้ด้านการอ่านตามแนวคิดพหุสัมผัสและแนวคิด
สื่อกลางการสอน”. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต .สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน.
บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Sharon Dominica. (2012). Multi Sensory Teacher Students With Intellectual
Disabilities Can Learn Math, Literacy And Science. Education for Change
Ltd. 17A Christopher Street, London EC2A 2BS, United Kingdom.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2020 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น