การพลิกโฉมห้องเรียนอาชีพโดยครอบครัว
คำสำคัญ:
การพลิกโฉม, ห้องเรียนอาชีพ, การจัดการศึกษาโดยครอบครัวบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพลิกโฉมห้องเรียนอาชีพโดยครอบครัว และสร้างรูปแบบที่เหมาะสมต่อการพัฒนาห้องเรียนอาชีพโดยครอบครัว เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษาจากแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาห้องเรียนอาชีพ และการจัดการศึกษาโดยครอบครัว
ผลการศึกษาพบว่า โมเดลที่เหมาะสมในการพลิกโฉมห้องเรียนอาชีพโดยครอบครัว คือ 4 Learning go Career Classroom by Families Model ประกอบด้วย (1) กระบวนการเรียนรู้โดยครอบครัว ใน 5 องค์ประกอบ ได้แก่ หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้, การใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้, กระบวนการจัดการเรียนการสอน, และการประเมินผลการเรียนรู้ และ (2) การพลิกโฉมห้องเรียนอาชีพ ใน 3 องค์ประกอบ ได้แก่ การจัดการอาชีวศึกษา, ครอบครัว และสถานประกอบการ
ซึ่งจะเป็นแนวทางให้สถาบันการศึกษาเพื่อออกแบบปรับปรุงหลักสูตรให้ก้าวทันต่อความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยี การปรับปรุงกระบวนการสอนด้วยครอบครัวให้ทันสมัยดึงดูดใจให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง และผู้เรียนให้สามารถตัดสินใจได้ไม่ยาก นอกจากนี้ยังรวมถึงการได้รับความรู้ ทักษะจากการปฏิบัติงานจริง
การนำ 4 Learning go Career Classroom by Families Model มาปรับใช้ในสถาบันอาชีวศึกษา ซึ่งจะเป็นแนวทางให้สถาบันอาชีวศึกษาเพื่อออกแบบหลักสูตรการจัดการเรียนรู้โดยครอบครัวให้ก้าวทันต่อความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยี เพื่อเป็นต้นแบบห้องเรียนอาชีพโดยครอบครัว และควรให้องค์กรด้านอาชีวศึกษาส่งเสริมให้มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องและเป็นรูปธรรมต่อไป
References
A. Coric Samardzija & I. Balaban. (2011). “Case studies o assessment ePortfolios,” in 2011, 14th International Conference on Interactive Collaborative Learning (ICL), 2011, pp. 89–94
Kinney. (2010). The internet, public libraries, and the digital divide. Public Library Quarterly, 29(2), 104-161.
Kinney, K. J. (2010). Determining effectiveness: Influences of homeschool instruction and reading curriculum on reading achievement of first graders (Doctoral dissertation). Available from ProQuest Dissertations and Theses database. (UMI No. 3397562)
Lounsbury, Steel, Gibson, & Drost. (2008). Personality traits and career satisfaction of human resource professionals. Human Resource Development International, 11(4), 351–366.
Lsabel. (1998). Improving Comprehension with Questioning the Author: A Fresh and Expanded View of a Powerful Approach. New York:
Office of the Education Council Secretariat. (2017). Home School: Leveraging Network Organizations. Bangkok: Prikwarn Graphic.
Office of the National Economics and Social Development Council. (2018). National Strategy for 20 years (2018-2037). Bangkok: Office of the Secretary of the National Strategy Committee, Office of the National Economics and Social Development Council.
Office of the National Education Commission. (1999). National Education Act of B.E. Bangkok: Office of the National Education Commission.
Pimpa, P. (2018). Current Thai Studies. Journal of Mahamakut Buddhist University Roi Et Campus, 7(1), 242 - 249
Samakoses, V. (2010). Recommendations for alternative education systems suitable for the well-being of Thai people. Bangkok: Parbpim
Waldorf. (1925). Schools as Professional Learning Communities: Collaborative Activities and Strategies for Professional Development. (2nd ed.). California: Corwin Press.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารนวัตกรรมและการจัดการ

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
โปรดดูที่จริยธรรมการตีพิมพ์ https://so03.tci-thaijo.org/index.php/journalcim/Ethics