การพัฒนาสมรรถนะผู้ประนีประนอมประจำศาลอาญาพระโขนง ตามแนวทางพุทธสันติวิธีเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการไกล่เกลี่ยคดีอาญา

Main Article Content

จาตุรงค์ สรนุวัตร
อดุลย์ ขันทอง

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบริบท สภาพปัญหา สาเหตุของการพัฒนาสมรรถนะผู้ประนีประนอมประจำศาลอาญาพระโขนง 2) ศึกษาหลักพุทธธรรมที่เอื้อต่อการพัฒนาสมรรถนะผู้ประนีประนอมประจำศาลอาญาพระโขนงตามแนวทางพุทธสันติวิธีเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการไกล่เกลี่ยคดีอาญา และ 3) นำเสนอการพัฒนาสมรรถนะผู้ประนีประนอมประจำศาลอาญาพระโขนงตามแนวทาง     พุทธสันติวิธีเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการไกล่เกลี่ยคดีอาญา โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ จากการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 9 รูป/คน และการสนทนากลุ่มเฉพาะกับผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 10 รูป/คน แล้วสรุปข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา


ผลการวิจัยพบว่า 1. บริบท สภาพปัญหา และสาเหตุของการพัฒนาสมรรถนะผู้ประนีประนอมประจำศาลอาญาพระโขนง มีปัญหาด้านการฝึกอบรม การเข้าถึงข้อมูล การประเมินผล การสนับสนุน การจัดการ    ในการพัฒนาสมรรถนะผู้ประนีประนอม 2. หลักพุทธธรรมที่เอื้อต่อการพัฒนาสมรรถนะผู้ประนีประนอมประจำศาลอาญาพระโขนง ได้แก่ หลักอริยสัจ 4 คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค 3. กระบวนการการพัฒนาสมรรถนะผู้ประนีประนอมประจำศาลอาญาพระโขนงตามแนวทางพุทธสันติวิธี ประกอบด้วย 6 กระบวนการ ดังนี้ 1) การพัฒนาสมรรถนะผู้ประนีประนอมในศาลอาญาพระโขนงตามแนวทางพุทธ 2) การพัฒนาสมรรถนะผู้ประนีประนอมประจำศาลอาญาตามแนวทางพุทธสันติ โดยการบูรณาการหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเข้ากับการพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่และการบริหารงานยุติธรรมได้อย่างสำเร็จ 3) การพัฒนาสมรรถนะผู้ประนีประนอมในศาลอาญาตามแนวทางพุทธสันติวิธี (อริยสัจ 4) 4) ผลจากการพัฒนาสมรรถนะการจัดการของบุคลากรในศาลอาญาพระโขนงตามหลักอริยสัจ 4 5) องค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับวิธีการพัฒนาสมรรถนะในการไกล่เกลี่ยคดีอาญาตามแนวทางพุทธสันติวิธี และ 6) การติดตามการพัฒนาสมรรถนะผู้ประนีประนอมในศาลอาญาตามแนวทางพุทธสันติวิธี

Article Details

How to Cite
สรนุวัตร จ. ., & ขันทอง อ. . (2024). การพัฒนาสมรรถนะผู้ประนีประนอมประจำศาลอาญาพระโขนง ตามแนวทางพุทธสันติวิธีเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการไกล่เกลี่ยคดีอาญา. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 12(5), 2028–2040. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/journal-peace/article/view/276304
บท
บทความวิจัย

References

Bodhisai, A. (2022). Pinai Regulatory Fine: A New Measure to Replace Criminal Punishment. Retrieved February 1, 2024, from http://online.fliphtml5.com/rkuhq/jcwx/#p=1

Gersick, K. E. et al. (1997). Generation to Generation: Life Cycles of the Family Business. Boston, MA: Harvard Business School Press.

Limparangsri, S. (2012). Conflict Management and Dispute Mediation. Bangkok: Dispute Resolution Office, Office of the Judiciary.

Phra Dhammapitaka (P.A. Payutto). (1998). The Greatest Benefit of Life. Bangkok: Thammasapa.

Phrakhanong Criminal Court. (2024). Article. Retrieved February 1, 2024, from https://crimpkc.coj.go.th/th/page/item/index/id/1

Phutthacharoenlep, N. (2007). Conciliation in the Supreme Court: Problems, Obstacles and Solutions. (Master’s Thesis). Dhurakij Pundit University. Bangkok.

Siriyakonnuru, N. (2016). Domain Name Dispute Resolution through Methods of Mediation and Arbitration Appropriate for Thailand. (Doctoral Dissertation). Ramkhamhaeng University. Bangkok.

Thapwong, C. (2012). Conflict Management and Mediation: Introduction to Dispute Mediation. Bangkok: Office of the Court of Justice.

Yuprasert, P. (2007). The Process of Dispute Mediation. Bangkok: Tana Press Co., Ltd.