ถึงร้าย...ก็ไม่เลว: ภาพสะท้อนความสุขผ่านตัวละครวายร้าย ในคติชนสมัยใหม่
คำสำคัญ:
ภาพยนตร์การ์ตูนแอนิเมชัน 3 มิติ, ตัวละครวายร้าย, อาร์คีไทพ์, คติชนสมัยใหม่บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้ นำเสนอวายร้ายในมุมของวีรบุรุษจากการชมภาพยนตร์การ์ตูนแอนิเมชัน 3 มิติ 2 เรื่อง คือเรื่อง วเร็ค อิท ราล์ฟ ดำเนินการสร้างโดยวอลท์ดิสนีย์และเรื่อง ยักษ์ ดำเนินการสร้างโดยบริษัท เวิร์คพอยท์ พิคเจอร์ส การวิเคราะห์ตัวละครวายร้ายที่รับบทเป็นตัวเอกของเรื่องเพื่อสะท้อนภาพความสุขของวายร้ายในสิ่งที่เขาเป็นและโลกที่เขาดำรงอยู่ ความเหมือนคล้ายและแตกต่างของตัวละครวายร้ายในการทำตามหน้าที่ ความเข้าใจในชีวิตและการยอมรับในสิ่งที่ตนเองเป็น ทั้งหมดถูกผูกโยงเข้ากับมิตรภาพและการเรียนรู้ที่จะเป็นตัวของตัวเองอย่างแท้จริงตามบริบทของสังคมวัฒนธรรมซึ่งถูกนำเสนอในรูปแบบคติชนสมัยใหม่ บทความวิชาการฉบับนี้ผู้เขียนวิเคราะห์และอธิบายตัวละครวายร้ายที่รับบทเป็นตัวเอกผ่านทฤษฎีอาร์คีไทพ์ในมุมมองคติชนวิทยา
References
Aungthonggumnerd, C. (2013). Avata Archetype: A mythological phenomenon in Hinduism and Buddhism. (Doctoral’s Thesis), Faculty of Humanities Naresuan University. [in Thai]
Boonsong, B. (2009). The life and contributions of Joseph Campbell to the study of mythology. (Doctoral’s Thesis), Faculty of Humanities Naresuan University. [in Thai]
Campbell, J. (2008). The power of myth. (Boonsong Baranee, Trans.). Bangkok; Amarin Printing and Publishing PCL. (Original English Publishing, 1991). [in Thai]
Chonsaranon, P. (2012). Yak the giant king. Bangkok; Fullstop printing. [in Thai]
Marumura, K. (2016). The Japanese Chalk Company creates the "highest" happiness for employees. Magazine Secrets. 8 (181),49. [in Thai]
Thaicinema. (2016, January 12), Yak character and voice actor, Retrieved from http://www.thaicinema.org/kits389yaak.php.
Vogler, C. (2007). The writer’s journey: Mythic structure for writers. (3rd ed.). California: Michael Wiese Productions.
Wreck-It Ralph Wiki. (2016, January 12), Wreck-It Ralph (character). Retrieved from https://wreckitralph.fandom.com/wiki/Wreck-It_Ralph_(character).
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
ลิขสิทธิ์บทความเป็นของผู้เขียน แต่วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ขอสงวนสิทธิ์ในการเป็นผู้ตีพิมพ์เผยแพร่เป็นครั้งแรก