การสร้างอุดมการณ์ทางการเมืองผ่านอุปลักษณ์ข้าวจากภาษิตเขมร

ผู้แต่ง

  • ชาญชัย คงเพียรธรรม สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีตะวันออก คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

คำสำคัญ:

อุดมการณ์ทางการเมือง, ข้าว, อุปลักษณ์มโนทัศน์, ภาษิตเขมร

บทคัดย่อ

          บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษามโนทัศน์จากการใช้อุปลักษณ์ “ข้าว” ผ่านภาษิตเขมร และการใช้มโนทัศน์เหล่านั้นเพื่อวัตถุประสงค์ทางการเมืองผลการศึกษาพบว่า คนเขมรไม่ได้มองข้าวว่าเป็นเพียงแค่สิ่งที่ใช้บริโภคเท่านั้น  แต่ยังเปรียบข้าวว่า  เป็นมนุษย์  เป็นงาน  เป็นเงิน  เป็นความรู้  และเป็นมรดกอีกด้วยจากมโนทัศน์ดังกล่าวได้ถูกนำมาใช้เป็นเครื่องมือสำคัญเพื่อสร้างอุดมการณ์ทางการเมืองในยุคสร้างชาติ (ภายหลังจากที่เขมรได้รับเอกราชจากฝรั่งเศส) ดังปรากฏในตราประจำแผ่นดินและธนบัตร  โดยสัญลักษณ์ข้าวสื่อความหมายว่าคือ 1) เกษตรกร ซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ (ข้าวเป็นมนุษย์)  ข้าวหมายถึงอาชีพเกษตรกรรม (ข้าวเป็นงาน)  ซึ่งเป็นศาสตร์ของแผ่นดิน (ข้าวเป็นความรู้) ที่ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น (ข้าวเป็นมรดก) และแสดงให้เห็นถึงความอุดมสมบูรณ์  ความมั่นคงมั่งคั่ง (ข้าวเป็นเงิน) อีกด้วย

References

Ang, C. (2010-2011). Cut off from the Wild. Khmer Cultural Tales. 6 (December): p. 36-38. [In Khmer]
Heraldy of the world. (2017, March 13). National emblem of Cambodia. Retrieved From https://www.ngw.nl/heraldywiki/index.php?title=
National-Emblem-of-Cambodia.
Ministry of Education, Youth, and Sports. (2011). History Level 12. Phnom Penh: Publishing and Distribution House. [In Khmer]
Mogan. (2011, October 6). Perused some pics of coats of arms and flags of nations today. Retrieved from https://jimmorgan.word
press.com/2011/10/06/perused-some-pics-of-Coats-of-arms-and-flags-of-nations-today/.
Panpothong, N. (2013). A Linguistic approach to critical discourse analysis: Concepts and implementation of discourse studies in Thai language]. (2nded.). Bangkok: Academic dissemination project, Faculty of Arts, Chulalongkorn University. [In Thai]
Phanit, R. (2014). Conceptual metaphors of rice in Thai society. Mekong-Salween Civilization Studies Journal 5(2), 161-190. [In Thai]
Phin, S. (2011). Rice in Khmer tradition. Phnom Penh: Angkor Wat. [In Khmer]
Prach, W., et al. (2015). 100 things that you should know about Khmer. Phnom Penh: Dam Derm Civeut. [In Khmer]
Ratna, S. (2011). A history of the national flag and national anthem Nokoriat. n.p. [In Khmer]
Tedthong, U. (2005). Khmer proverbs: Ways of life and worldviews of Khmer people. (Doctoral dissertation).Graduate School, Silpakorn University.
[In Thai]
Thongdi, I. (1994). Rice culture: Rice rites and farming. Bangkok: Saha Dhamika. [In Thai]
Wikimedia commons. (2016, November 23). Emblem of democratic Kampuchea 1975-1979. Retrieved from https://commons. Wikimedia.
org/wiki/File: Emblem of Democratic Kampuchea 1975-1979.svg.
Yongbunkert, C. (2000). A Journal of Chenla’s Tradition. Bangkok: Matichon.
[In Thai]

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-06-30

How to Cite

คงเพียรธรรม ช. (2018). การสร้างอุดมการณ์ทางการเมืองผ่านอุปลักษณ์ข้าวจากภาษิตเขมร. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 10(1), 33–58. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/journal-la/article/view/132022