หินผา "คุน่อเล มึเอเล": บทบาทวรรณกรรมมุขปาฐะและวัตถุคติชนทางธรรมชาติ ที่สื่อโลกทัศน์ปกาเกอะญอ ชุมชนบ้านคอโซทะ ตำบลแม่จัน อำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก

ผู้แต่ง

  • หทัยภัทร ดำขำ สาขาวิชาภาษาไทยและภาษาไทยประยุกต์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ประเทศไทย
  • วรรณนะ หนูหมื่น สาขาวิชาสังคม วัฒนธรรมและการพัฒนามนุษย์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ประเทศไทย

คำสำคัญ:

วัตถุคติชนทางธรรมชาติ, วรรณกรรมมุขปาฐะ, ปกาเกอะญอ, โลกทัศน์

บทคัดย่อ

             บทความวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาวรรณกรรมมุขปาฐะ “คุน่อเล มึเอเล” ที่เชื่อมโยงนัยสำคัญกับหินผา “คุน่อเล มึเอเล” อันเป็นวัตถุคติชนทางธรรมชาติ บทบาททั้ง 2 ส่วนนี้มีผลแสดงโลกทัศน์ชาวปกาเกอะญอ บ้านคอโซทะ แม่จัน อำเภออุ้มผาง จังหวัดตากในประเทศไทย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เสนอผลวิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห์ ใช้แนวคิดวิจัยเรื่องบทบาทหน้าที่วรรณกรรมมุขปาฐะท้องถิ่นที่สัมพันธ์กับวัตถุคติชนทางธรรมชาติ ผลการวิจัยพบว่า “คุน่อเล มึเอเล” จากวรรณกรรมมุขปาฐะ สู่รูปลักษณ์หินผาที่เป็นวัตถุคติชนทางธรรมชาติ สององค์ประกอบนี้ มีบทบาทย้ำโลกทัศน์ 4 ประเด็นของชาวปกาเกอะญอ บ้านคอโซทะ แม่จัน อำเภออุ้มผาง จังหวัดตากในประเทศไทย ว่า 1) ยกย่องความรักวิญญาณบรรพชน คุน่อเล กับ มึเอเล  2) นับถือผืนป่าบริเวณหินผา “คุน่อเล มึเอเล”เป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ ไม่รุกล้ำธรรมชาติแถบนี้ 3) บูชาเทพอันเนื่องด้วยธรรมชาติ บริเวณป่าและหินผา “คุน่อเล มึเอเล” 4) รวมใจชาวปกาเกอะญอ บ้านคอโซทะให้ภูมิใจอัตลักษณ์และรากเหง้าของตน

References

Aeusrivongse, N. (1993). The hero in Thai culture. In The 4th Special Occasion Speech for Puey Ungphakorn. Thammasat University.

Bronner J, S. (1986). Folk groups and folklore genres: An introduction. Logan, Utah: Utah State University Press. file:///C:/Users/LA/Downloads/Documents/BronnerFolkObjects_2.pdf

Chaithongdee, C. (2014). Sacred narratives and the cultural area formation in Sisaket Province. Journal of Humanities and Social Sciences Burirum Rajabhat University, 6(2), 72-89.

Inpakdee, N. (2016). Creative folklore derived from Khru Mo Nora beliefs in Tambon Takea, Changwat Phatthalun [Unpublished master’s thesis]. Chulalongkorn University.

Kengphanich, S., Gasorngatsara, S. & Boonyasurat, W. (2016). Management of the Sacred Mountain of Wat Mon Phraya Chae for pilgrimage and cultural tourism. International Conference on Research and Design in Architecture and Related Fields 2016, 13(1), 125-158.

Kongsirirat, S. (2014). The Laotian’s worldview about leaders from proverbs. Mekong-Salween Civilization Studies Journal, 5(2), 107-135.

Krumram, P. (2013). A study of worldviews in external reading books for high school students. Ramkhamhaeng University.

Loppawong, N., & Panyanuwat, A. (2014). Management process for retaining cultural identity of the Pga K’nyau ethnic group in Ban Nong Monta, Mae Wang District, Chiang Mai Province. Journal of International and Thai Tourism, 10(2), 2211-2218.

Na Nakorn, W. (1978). The legend of Nakorn Si Thammarat and relic of the Buddha in Nakorn Si Thammarat. Auksornphan Press.

Na Thalang, S. (1994). Tale and play in the community. Matichon.

Poonsawat, W. (1991). Verbal folklore of Thai Nyoe at Ban Lupmok, Tambon Muang Khong, Amphoe Rasi Salai, Si Saket. [Unpublished master’s thesis]. Mahasarakham University.

Santasombat, Y. et al. (2004). Ethnic ecology, biological resources and human right. Within Design.

Sarahongsa, N., Yodmalee, B., & Lamduan, S. (2018). The cultural potential of Skaw Karen: Dynamic management of community based cultural tourism in Mae Hong Son Province. Journal of Graduate Studies in Northern Rajabhat Universities, 8(14), 87-102.

Such-Xaya, S. (1980). Dialogue songs: A literary analysis [Unpublished master’s thesis]. Chulalongkorn University.

Thammasayna, A. (2012). Yong identity in La Poon community. In TRF, Deconstruction of identity concept.

Valipodom, S. (1999). Phu Kao Sak Sit Kap Kwam Pen Sakon. [Sacred Mountain with the Universality]. Mueang Boran Journal, 25(3), 9-22. [In Thai]

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-30

How to Cite

ดำขำ ห., & Numun, W. (2020). หินผา "คุน่อเล มึเอเล": บทบาทวรรณกรรมมุขปาฐะและวัตถุคติชนทางธรรมชาติ ที่สื่อโลกทัศน์ปกาเกอะญอ ชุมชนบ้านคอโซทะ ตำบลแม่จัน อำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 12(2), 78–97. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/journal-la/article/view/226096