ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ความไว้วางใจ และคุณค่าตราสินค้าส่งผลต่อการตัดสินใจซื้ออุปกรณ์กีฬาแบรนด์ไทยในประเทศไทย
คำสำคัญ:
ส่วนประสมทางการตลาด , ความไว้วางใจ , คุณค่าตราสินค้า , การตัดสินใจซื้อ , อุปกรณ์กีฬาบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาส่วนประสมทางการตลาด ความไว้วางใจ และคุณค่าตราสินค้าที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้ออุปกรณ์กีฬาแบรนด์ไทยในประเทศไทย โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ กลุ่มผู้บริโภคที่เคยใช้อุปกรณ์กีฬาแบรนด์ไทยในประเทศไทยจำนวน 385 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า ส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้ออุปกรณ์กีฬาแบรนด์ไทยในประเทศไทยมีตัวแปรด้านผลิตภัณฑ์และช่องทางการจัดจำหน่ายที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้ออุปกรณ์กีฬาแบรนด์ไทยในประเทศไทย โดยสามารถใช้สมการพยากรณ์ได้ร้อยละ 63 ความไว้วางใจส่งผลต่อการตัดสินใจซื้ออุปกรณ์กีฬาแบรนด์ไทยในประเทศไทย โดยสามารถพยากรณ์ได้ร้อยละ 58 และคุณค่าตราสินค้าส่งผลต่อการตัดสินใจซื้ออุปกรณ์กีฬาแบรนด์ไทยในประเทศไทย โดยสามารถพยากรณ์ได้ร้อยละ 53 โดยกำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
References
กฤตธน เจนวัฒนพานิช. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการสนับสนุนตราสินค้ากีฬาของผู้บริโภคในจังหวัด ขอนแก่น. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติด้านบริหารธุรกิจและการบัญชี ครั้งที่ 2(หน้า 228–238). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
จอมพล ศรีสุข. (2563). ปัจจัยในการตัดสินใจเลือกรองเท้าบาสเกตบอล ยี่ห้อไนกี้ (NIKE) ของนักกีฬาบาสเกตบอลระดับ มหาวิทยาลัย ในกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสยาม.
ณัฐวุฒิ พลศรี, ปริญญา ขวัญเมืองวานิช, กิตติพงษ โพธิมู, พิเชษฐ เกิดวิชัย, บุญญาดา พาหาสิงห และญาณกร วรากุลรักษ. (2562). ส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อเสื้อฟุตบอลทีมชาติไทยวอริกซ์ (WARRIX). วารสารสิรินธรปริทรรศน์มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 20(2), 10-20.
ทวีศักดิ์ อรชร. (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อรองเท้ากีฬาของพนักงานบริษัท แมคคีย์ฟู้ด เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จำกัด สาขาชลบุรี. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ธมลวรรณ สมพงศ์. (2564). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภคในจังหวัดนครปฐม.(วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
นภวรรณ คณานุรักษ์. (2566). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: ซีวีแอลการพิมพ์.
เบญญา หวังมหาพร และทิพย์รัตน์ เลาหวิเชียร. (2563). ผลของความไว้วางใจและคุณค่าที่รับรู้ได้ต่อการตั้งใจซื้อสินค้าผ่านทางสังคมออนไลน์เฟซบุ๊กของผู้ใช้ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารคณะบริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 1(19), 151-163.
พลกฤต หุ่นเก่า. (2565). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อไม้แบดมินตันของผู้บริโภควัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
มาร์เก็ตเทียร์ทีม. (2561). กระแสสุขภาพแรงตลาดอุปกรณ์กีฬาโต. สืบค้น 10 ธันวาคม 2565, จาก https://marketeeronline.co/archives/29133
ลงทุนแมน. (2566). จีดีพีในแต่ละภาค. สืบค้น 25 มีนาคม 2567, จากhttps://www.longtunman.com/19457
วนัสพร บุบผาทอง. (2564). การตัดสินใจซื้อซ้ำของผู้บริโภค กรณีศึกษา ผู้ใช้บริการศูนย์บริการโตโยต้านครปฐม ผู้จำหน่ายโตโยต้า จำกัด. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วัชรพงษ์ ขำแก้ว. (2564). คุณค่าตราสินค้า บุคลิกภาพของตราสินค้า และค่านิยมที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อรองเท้าบาสเกตบอลของนักกีฬาบาสเกตบอลในจังหวัดพิษณุโลก. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต).พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
วิทวัส รุ่งเรืองผล. (2563). หลักการตลาด (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ : มาร์เก็ตติ้งฟูด.
Aaker, D.A. (2016). Building strong brands. New York: Free.
Armstrong, G., & Kotler, P. (2013). Marketing: An introduction (9th ed.). New Jersey: Prentice Hall.
Cochran, W.G. (1953). Sampling Techniques. New York: John Wiley & Sons.
Clow, K. E., & Baack, D. (2010). Brand and brand equity concise encyclopedia of advertising. New York: Routledge.
Kim, C., Galliers, R. D., Shin, N., Han, J., & Kim, J. (2012). Consumer profile of apparel product involvement and values. Journal of Fashion Marketing and Management, 9(2), 207-220.
Michel, L., Habibi, M.R., Richard, M.O., & Sankaranarayanan, R. (2012). The effects of social media-based brand communities on brand community markers, value creation practices, brand trust and brand loyalty. Journal of marketing, 28(5), 1755-1767.
Covey, S.M. R. & Merrill, R. R. (2007). The speed of trust. United States: CoveyLink
Stathopoulou, A. & Balabanis, G. (2019). The Effects of Loyalty Programs on Customer Satisfaction, Trust, and Loyalty toward High-end and Low-end Fashion Retailers. Journal of Business Research, 69(12), 5801-5808.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม บทความที่ลงพิมพ์ใน วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม ถือว่าเป็นความเห็นส่วนตัวของผู้เขียน คณะบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย ผู้เขียนต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง