การพัฒนารูปแบบกิจกรรมเพื่อสร้างประสบการณ์การท่องเที่ยวผ่านเรื่องเล่าจาก สุรากลั่นชุมชน กรณีศึกษาสุรากลั่นชุมชน ตำบลบ้านกล้วย อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย
คำสำคัญ:
ประสบการณ์การท่องเที่ยว, กิจกรรมการท่องเที่ยวสุรากลั่นชุมชน , สุรากลั่นชุมชน , การเล่าเรื่องบทคัดย่อ
การนำเสนอสุรากลั่นชุมชนผ่านเรื่องเล่าทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ในการผลิตและวัตถุดิบที่เกิดจากภูมิปัญญาท้องถิ่น ถ่ายทอดผ่านรูปแบบของกิจกรรมที่สร้างประสบการณ์ให้กับนักท่องเที่ยว เพื่อยกระดับและสร้างมูลค่าของสุรากลั่นชุมชนให้เกิดการรับรู้และเผยแพร่ในวงกว้าง บทความวิชาการนี้จึงเป็นการนำเสนอแนวคิดการพัฒนารูปแบบกิจกรรมเพื่อสร้างประสบการณ์การท่องเที่ยวผ่านเรื่องเล่าจากสุรากลั่นชุมชน กรณีศึกษาสุรากลั่นชุมชน ตำบลบ้านกล้วย อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย ผู้เขียนได้รวบรวมความรู้ในเรื่องสุรากลั่นชุมชนของจังหวัดสุโขทัยนำเสนอเป็นรูปแบบกิจกรรม 5 กิจกรรม ได้แก่ 1) กิจกรรมเยี่ยมชมแหล่งปลูกวัตถุดิบในการผลิต 2) กิจกรรมเรียนรู้วิธีในการผลิตสุรากลั่นชุมชน 3) กิจกรรมชิมสุรากลั่นชุมชนควบคู่กับมื้ออาหาร4) กิจกรรมการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และ 5) กิจกรรมอื่นที่สร้างประสบการณ์ในการท่องเที่ยว เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ 4 ด้าน คือ 1) การได้รับความบันเทิง 2) การได้รับความรู้ 3) การเกิดสุนทรียศาสตร์ และ 4) การหลุดพ้นจากชีวิตประจำวัน บทความวิชาการนี้เป็นส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ที่ช่วยให้ผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยวสามารถจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวเพื่อยกระดับและเพิ่มการรับรู้ของสุรากลั่นชุมชนได้มากขึ้น ผู้ประกอบการสุรากลั่นชุมชนสามารถเตรียมความพร้อมเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมด้านการท่องเที่ยวในอนาคตต่อไป
References
ข้อมูลจากไทย. (2564). รายชื่อผู้ประกอบการกลุ่มธุรกิจการผลิตสุรากลั่น. สืบค้น 1 ตุลาคม 2566, จาก https://www.dataforthai.com/business/objective/11011
ชลิดา แย้มศรีสุข, จีรณา จินดาพล และอัญญาณี ลีลา. (2563). กระบวนการกลายเป็นสินค้าของอาหารพื้นเมืองภูเก็ตสู่การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอาหาร. วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง, 9(1), 142-153.
ตรงใจ หุตางกูร, วชรพร อังกูรชัชชัย และดอกรัก พยัคศรี. (2562). จารึกวัดศรีชุม. สืบค้น 1 ตุลาคม 2566, จาก https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/177
นิมิต ซุ้นสั้น และอุมาภรณ์ สมกาย. (2564). ประสบการณ์การท่องเที่ยวเชิงอาหารที่ส่งผลต่อการแบ่งปันประสบการณ์: การศึกษาตัวแปรส่งผ่านและตัวแปรกำกับ. จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์, 43(3), 40-63.
หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ. (2565). ส.ส.ก้าวไกลเฮลั่นสภาฯ โหวตผ่านร่าง พ.ร.บ.สุราก้าวหน้า 178 ต่อ 137 เสียง. สืบค้น 31 มิถุนายน 2565, จาก https://www.thairath.co.th/news/politic/2414125
วรวุฒิ วชิรวรกุลชัย และนพพร จันทรนำชู. (2561). การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้วัฒนธรรม อาหารไทยมุสลิม: การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้วัฒนธรรมอาหารไทยมุสลิม. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยศิลปากร, 16(2), 129-139.
วรรณา ยงพิศาลภพ. (2565). แนวโน้มธุรกิจและอุตสาหกรรมปี 2565-2567: อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม. สืบค้น 15 มิถุนายน 2566, จาก https://www.krungsri.com/th/research/industry/industry-outlook/food-beverage/beverage/io/io-beverage-2022
สาวิตรี อัษณางค์กรชัย และวรานิษฐ์ ลำไย. (2562). สุราชุมชน สถานการณ์ปัญหาในสังคมไทย. สืบค้น 18 มิถุนายน 2566, จาก https://cas.or.th/wp-content/uploads/2019/06/%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2-1.pdf
อรอง จันทร์ประสาทสุข. (2562). การคัดแยกและจำแนกจุลินทรีย์จากลูกแป้งเป็นกล้าเชื้อสำหรับการผลิตผลิตภัณฑ์ข้าวหมัก (รายงานวิจัย). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
อภิสรา กฤตาวาณิชย. (2564). การสื่อสารอัตลักษณ์ชุมชนสู่การออกแบบบรรจุภัณฑ์กาแฟอาข่าปางขอนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยววิถีกาแฟ. วารสารรัชต์ภาคย์, 15(43), 197-210.
Arroyo, C. G., Knollenberg, W., & Barbieri, C. (2021). Inputs and outputs of craft beverage tourism: The Destination Resources Acceleration Framework. Annals of Tourism Research, 86, 103102.
Byrd, E. T., Canziani, B., Hsieh, Y. C. J., Debbage, K., & Sonmez, S. (2016). Wine tourism: Motivating visitors through core and supplementary services. Tourism Management, 52, 19-29.
Ellis, A., Kim, S., & Yeoman, I. (2018). What is food tourism?. Tourism Management, 68, 250-263.
Graef, R., Csikszentmihalyi, M., & McManama Gianinno, S. (1983). Measuring intrinsic motivation in everyday life. Leisure studies, 2(2), 155-168.
Güzel, Ö., Ehtiyar, R., & Ryan, C. (2021). The Success Factors of wine tourism entrepreneurship for rural area: A thematic biographical narrative analysis in Turkey. Journal of Rural Studies, 84, 230-239.
Haller, C., Hess-Misslin, I., & Mereaux, J. P. (2021). Aesthetics and conviviality as key factors in a successful wine tourism experience. International Journal of Wine Business Research, 33(2), 176-196.
Hurst, C. E., Grimwood, B. S., Lemelin, R. H., & Stinson, M. J. (2021). Conceptualizing cultural sensitivity in tourism: A systematic literature review. Tourism Recreation Research, 46(4), 500-515.
Kim, H. J., & Jeong, M. (2018). Research on hospitality and tourism education: Now and future. Tourism Management Perspectives, 25, 119-122.
Knollenberg, W., Arroyo, C. G., Barbieri, C., & Boys, K. (2021). Craft beverage tourism development: The contributions of social capital. Journal of Destination Marketing & Management, 20, 100599.
Lee, D., Scott, N., & Lohmann, G. (2019). Applying experiential marketing in selling tourism dreams. Journal of Travel & Tourism Marketing, 36(2), 220-235.
Meier, P. S., Warde, A., & Holmes, J. (2018). All drinking is not equal: how a social practice theory lens could enhance public health research on alcohol and other health behaviours. Addiction, 113(2), 206-213.
PennMuseum. (2020). The Earliest Alcoholic Beverage in the World. Retrieved December 1, 2023, from https://www.penn.museum/research/project.php?pid=12
Pine, B. J., & Gilmore, J. H. (1998). Welcome to the experience economy. Retrieved December 14, 2023, from https://www.penn.museum/research/project.php?pid=12
Rotariu, I. (2007). The new tourism communication: from 3S to 3E with case study on Romania. University Library of Munich: Germany.
Santos, V. R., Ramos, P., Almeida, N., & Santos-Pavón, E. (2019). Wine and wine tourism experience: a theoretical and conceptual review. Worldwide Hospitality and Tourism Themes, 11(6), 718-730.
Sukhothai Bicycle Tour. (2021). Full Day Sukhothai’s Countryside. Retrieved December 20, 2023, from https://www.tripadvisor.com/Attraction_Review-g303921-d3675300-Reviews-Sukhothai_Bicycle_Tour-Sukhothai_Sukhothai_Province.html
Tan, W. K. (2017). Repeat visitation: A study from the perspective of leisure constraint, tourist experience, destination images, and experiential familiarity. Journal of Destination Marketing & Management, 6(3), 233-242.
Thomas, B., Quintal, V. A., & Phau, I. (2018). Wine tourist engagement with the winescape: Scale development and validation. Journal of Hospitality & Tourism Research, 42(5), 793-828.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม บทความที่ลงพิมพ์ใน วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม ถือว่าเป็นความเห็นส่วนตัวของผู้เขียน คณะบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย ผู้เขียนต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง