การศึกษาแนวทางการพัฒนากลุ่มอาชีพทอผ้า กรณีศึกษา กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผ้าทอไทยร่วมใจบ้านกร่างท่าวัว ตำบลบ้านกร่าง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก

ผู้แต่ง

  • บุษบา หินเธาว์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
  • รัตนา สิทธิอ่วม คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
  • จงกล เพชรสุข คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
  • ธัญญาพร มาบวบ นักวิชาการศึกษา สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
  • สุรีย์พร แก้วหล่อ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

คำสำคัญ:

แนวทาง, การพัฒนา, กลุ่มอาชีพ, ทอผ้า

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนของผ้าทอกลุ่มผ้าทอไทยร่วมใจบ้านกร่างท่าวัว  ตำบลบ้านกร่าง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 2) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคของกลุ่มแม่บ้านผู้ทอผ้าบ้านกร่างท่าวัว  ตำบลบ้านกร่าง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก และ3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนากลุ่มทอผ้าบ้านกร่างท่าวัว  ตำบลบ้านกร่าง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก  เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่ม และการสังเกต ผู้ให้ข้อมูลหลัก ได้แก่ กลุ่มแม่บ้านทอผ้า 6 คน  เจ้าหน้าที่รัฐ 4 คน ผู้นำชุมชน 2 คน ในหมู่บ้าน ตำบลบ้านกร่าง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก เลือกอย่างเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) การจัดหมวดหมู่ของข้อมูลและจำแนกวิเคราะห์ตามประเด็นคำถามการวิจัย เป็นการวิเคราะห์ตีความหมายของข้อมูลที่ได้จากการศึกษาภาคสนาม  และตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า  ผลการศึกษา พบว่า 1) ต้นทุนการทอผ้าขาวม้า มีต้นทุนการผลิตทั้งหมด 140 บาทต่อผืน กําไรที่ได้ร้อยละ 44  2) ปัญหาและอุปสรรคของกลุ่มผ้าทอไทยร่วมใจบ้านกร่างท่าวัว ได้แก่ ด้านการบริหารจัดการ ด้านการผลิต และด้านการตลาด และ3) แนวทางในการพัฒนากลุ่ม ได้แก่ ควรมีการพัฒนาความรู้ของสมาชิกกลุ่มในด้านการผลิต การตลาด การบริหารจัดการกลุ่ม และใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการจัดการความรู้เรื่องการทอผ้า

Author Biographies

บุษบา หินเธาว์, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

 

 

รัตนา สิทธิอ่วม, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

 

 

จงกล เพชรสุข, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

 

 

ธัญญาพร มาบวบ, นักวิชาการศึกษา สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

 

 

สุรีย์พร แก้วหล่อ, นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

 

 

References

โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. (2557). สารานุกรมไทย สำหรับเยาวชน เล่ม 39. กรุงเทพฯ: สำนักงานอาคารโครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว.

จรัสพิมพ์ วังเย็น. (2554). การออกแบบเครื่องนุ่งห่มเพื่อการพัฒนารูปแบบสินค้าพื้นเมือง กรณีศึกษา ผ้าจกไทยยวน จังหวัดราชบุรี. คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.

ธนธรณ์ แจ้งโม้. (2565). การวิเคราะห์และประเมินผลต้นทุนลวดลายเอกลักษณ์ผลิตภัณฑ์จากโบราณสถานมรดกโลกเมืองกําแพงเพชรสําหรับการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม. วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 4(3), 44-62.

ธิดารัตน์ วุฒิศรีเสถียรกุล, ปรีชาพล บุญส่ง และผณินทร เสือแพร. (2561). การพัฒนาต้นแบบระบบสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ผ้าทอมัดหมี่ กรณีศึกษา ชุมชนม่วงหอม ตำบลแก่งโสภา อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ “นอร์ทเทิร์นวิจัย” ครั้งที่ 5 ประจำปีการศึกษา 2561 “บูรณาการงานวิจัย ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยด้วยนวัตกรรม” (น. 922-930). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยนอร์เทิร์น.

นงนุช อิ่มเรือง. (2553). แนวทางการพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจชุมชน กรณี กลุ่มทอผ้าไหมบ้านหวายหลึม ตําบลมะบ้า อําเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด (วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

นฤเบศ เลขกลาง. (2557). แนวทางการพัฒนากลุ่มอาชีพทอผ้าฝ้ายและตัดเย็บบ้านโคกสูง ตําบลเชียงยืน อําเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม. ใน รายงานการประชุมวิชาการ การพัฒนาชนบทที่ยั่งยืน ครั้งที่ 4 ประจำปี 2557 “Rethink : Social Development for Sustainability in ASEAN Community” 11-13 มิถุนายน 2557, (น.177-182). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

นวลลออ ทินานนท์. (2544). ศิลปะพื้นบ้านไทย. เอกสารประกอบการสอน คณะศิลปกรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ประภากร อุ่นอินทร์ และจตุรวิทย์ ศศิธรานนท์. (2558). ต้นทุนโลจิสติกส์ผลิตภัณฑ์ผ้าทอ กรณีศึกษาผ้าซิ่นยวน อําเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา. ใน การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ “สร้างสรรค์และพัฒนา เพื่อก้าวหน้าสู่ประชาคมอาเซียน” ครั้งที่ 2, 18-19 มิถุนายน 2558, (น.559-562). นครราชสีมา: วิทยาลัยนครราชสีมา.

พันธุ์ไม้ย้อมสีธรรมชาติ. (ม.ป.ป.). สืบค้น 22 พฤศจิกายน 2565, จาก http:// http://122.154.22.188/webtreecolor/index.php

วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. (2532). ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

ศุภชัย สิงห์ยะบุศย์. (2547). การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากวัฒนธรรมผ้าทอพื้นบ้านสู่ระบบอุตสาหกรรมสินค้าชุมชน : ศึกษากรณีกลุ่มแม่บ้านเพิ่มพูนทรัพย์ ตำบลนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธุ์. (2551). การบัญชีต้นทุน: แนวคิดในการคำนวณต้นทุนผลิตภัณฑ์และหลักการบันทึกบัญชี. กรุงเทพฯ: แมคกรอ-ฮิล.

สุภัสรา บุญเรือง, จารุรัศมิ์ ธนูศิลป์, ภควรรณ อินทรา, สุลีมาศ คำมุง และอินทิรา มุงเมือง. (2559).

แนวทางการพัฒนาตลาดผ้าทอไทลื้อในเขตอำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา. วารสารวิชาการสถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค, 2(2), 109-121.

สุภางค์ จันทวานิช. (2551). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 17). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เอกวิทย์ ณ ถลาง. (2544). ภูมิปัญญาภาคกลาง. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.

อรุณี นุสิทธิ์. (2560). การบัญชีต้นทุน 2. พิษณุโลก: คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.

อรุณี นุสิทธิ์, รัตนา สิทธิอ่วม, ทิพวรรณ อินทวงศ์, นิภาพร โพธิ์เงิน, และวราภรณ์ แสงนาค. (2562). การวิเคราะห์ต้นทุนและโครงสร้างต้นทุนการแปรรูปมะขามของวิสาหกิจชุมชน กลุ่มมะขามแปรรูปไร่บุญคง ตำบลวังชมพู อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์. วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 1(2), 31-40.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-03-17

How to Cite

หินเธาว์ บ., สิทธิอ่วม ร. ., เพชรสุข จ. ., มาบวบ ธ. ., & แก้วหล่อ ส. . (2023). การศึกษาแนวทางการพัฒนากลุ่มอาชีพทอผ้า กรณีศึกษา กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผ้าทอไทยร่วมใจบ้านกร่างท่าวัว ตำบลบ้านกร่าง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 5(1), 61–77. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jmspsru/article/view/263988