การเปรียบเทียบปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการและคุณภาพ การบริการระหว่างโรงพยาบาลของรัฐบาลและโรงพยาบาลเอกชน ในเขตเทศบาลเมืองพิจิตร

ผู้แต่ง

  • ปิยธิดา เปี่ยมงาม คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
  • หรรษา สันติวิไลลักษณ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
  • นภาภรณ์ อุ่นปรีชาวณิชย์ คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

คำสำคัญ:

ส่วนประสมทางการตลาด, คุณภาพการบริการ, โรงพยาบาลรัฐบาล, โรงพยาบาลเอกชน

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบทัศนคติของผู้รับบริการที่มีต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดระหว่างโรงพยาบาลรัฐบาลและเอกชนในเขตเทศบาลเมืองพิจิตร และ 2) เปรียบเทียบความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อคุณภาพการบริการระหว่างโรงพยาบาลรัฐบาลและเอกชนในเขตเทศบาลเมืองพิจิตร เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามจากผู้ที่เคยรับบริการในโรงพยาบาลรัฐบาลและเอกชน 385 ราย การวิเคราะห์ผลการวิจัยด้วยสถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าความความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอ้างอิงที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ การวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน (Paired-samples t-test) โดยผลการวิจัย พบว่า 1) ทัศนคติของผู้รับบริการที่มีต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดระหว่างโรงพยาบาลของรัฐบาลและเอกชนในเขตเทศบาลเมืองพิจิตรมีความแตกต่างกันทุกปัจจัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ 2) ความพึงพอใจของผู้เข้ารับบริการที่มี
ต่อคุณภาพการบริการระหว่างโรงพยาบาลของรัฐบาลและเอกชนในเขตเทศบาลเมืองพิจิตรมีความแตกต่างกันทุกปัจจัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

References

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. (2559). ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (MEDICAL HUB) (พ.ศ.2560 - 2569). สืบค้น 10 พฤศจิกายน 2564, จาก https://hss.moph.go.th/fileupload/2560-102.pdf.

กระทรวงสาธารณสุข. (2559). แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564. สืบค้น 5 พฤศจิกายน 2564, จาก http://doh.hpc.go.th/data/HL/nationalHealthDevelopment12.pdf.

กลุ่มงานยุทธศาสตร์และข้อมูลเพื่อการพัฒนาจังหวัด, สำนักงานจังหวัดพิจิตร. (2565). แผนพัฒนาจังหวัด

พ.ศ. 2566–2570. สืบค้น 5 พฤศจิกายน 2564, จาก http://www.phichit.go.th/phichit/doc/2565/650217-1.pdf

กันต์กนิษฐ์ ชูวงศ์อภิชาต และเสาวลักษณ์ ลักษมีจรัลกุล. (2553). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการไม่ไปใช้บริการทางการแพทย์ที่สถานพยาบาลเครือข่ายของผู้ประกันตน. วารสาร มฉก.วิชาการ, 14(27), 37-54.

จันทนา รักษ์นาค. (2556). ปัจจัยทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการโรงพยาบาลเอกชนขนาดใหญ่ในเขตกรุงเทพมหานคร. ใน การประชุมวิชาการหาดใหญ่วิชาการ ครั้งที่ 4 (หน้า 99-104). สงขลา: สถาบันปัญญาภิวัตน์.

ธีรพร สถิรอังกูร, ศิริมา ลีละวงศ์, ศศมน ศรีสุทธิศักดิ์, สมใจ พุธาพิทักษ์ผล, ณิชาภา ยมจอหอ และกนกพร แจ่มสมบูรณ์. (2564). การพัฒนารูปแบบการบริหารการพยาบาล ในสถานการณ์การระบาดของโควิด–19 ในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 30(2), 320-333.

นฤบดี วรรธนสคม. (2565). ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างส่วนประสมทางการตลาดและคุณภาพการบริการวัคซีนทางเลือกโควิด-19 ของโรงพยาบาลเอกชนกับการตัดสินใจจองซื้อของคนวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารรัชต์ภาค, 16(46), 374-388.

นิภาพร นาคะประเสริฐกุล. (2555). ความพึงพอใจในคุณภาพการบริการที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการของผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลของรัฐและเอกชนในจังหวัดสุพรรณบุรี (วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

นิยม กริ่มใจ. (2560). การเปรียบเทียบปัจจัยการเลือกรับบริการโรงพยาบาลของรัฐและโรงพยาบาลเอกชนของผู้ป่วยในเขตพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย, 23(2), 34-45.

บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

ปัญจพล เหล่าทา, ฉัตรชัย ลอยฤทธิวุฒิไกร และเสาวภา มีถาวรกุล. (2562). ส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการโรงพยาบาลเอกชนของผู้ป่วยในในจังหวัดสมุทรปราการ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม, 9(1), 9-17.

พงศ์สัณห์ ศรีสมทรัพย์ และปิยะนุช เงินคล้าย. (2550). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สุธีราพร อ่วมคร้าม และบุญใจ ศรีสถิตนรากูร. (2558). ปัจจัยจำแนกการเลือกใช้บริการของผู้รับบริการโรงพยาบาลรัฐบาลและเอกชน กรุงเทพมหานคร. วารสารพยาบาลศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 27(1), 83-94.

สุภาวดี จิระชีวะนันท์. (2545). ความพึงพอใจของผู้ป่วยในแผนกศัลยกรรม ต่อการบริการของโรงพยาบาล เจริญกรุงประชารักษ์ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเวชศาสตร์ชุมชน). กรุงเทพฯ:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Abedi, G., Rahmani, Z., Abedini, E., & Rostami, F. (2015). Surveying the impact of services marketing mix components (7Ps) on patients’ disposition towards the public & private hospitals of Sari City. Journal of Hospital, 13(4), 63-71.

Al-Borie, H. M., & Sheikh Damanhouri, A. M. (2013). Patients' satisfaction of service quality in Saudi hospitals: a SERVQUAL analysis. International journal of health care quality assurance, 26(1), 20-30.

Asnawi, A., Awang, Z., Afthanorhan, A., Mohamad, M., & Karim, F. J. M. S. L. (2019). The influence of hospital image and service quality on patients’ satisfaction and loyalty. Management Science Letters, 9(6), 911-920.

Cochran, W.G. (1977). Sampling techni-ques (3rd ed.). New York: John Wiley & Sons.

Cronbach, L. J. (1970). Essentials of Psychological Testing. New York: Harper & Row.

Kamolpiyapat, S. (2013). Decision to use Service of Private Hospital in Bangkok. Independent Study for Master Degree, Bangkok University.

Kotler, P. & Keller, K.L. (2016). Marketing Management (15th ed.). New Jersey: Pearson Education.

Kotler, P. (2003). Marketing management (11th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice- hall.

Loudon, D. & Bitta, A.J. (1993). Consumer behavior (4th ed.). New York: McGraw-Hill.

Mardiah, M., & Wahyu, S. (2019). The Role Of Hospital Marketing Mix To The Selection Of The Hospital Consumer. In Proceedings of the International Conference on Applied Science and Health No. 4 (pp. 1065-1071).

Onkvisit, S., & Shaw, J. J. (1994). International Marketing: Analysis and Strategy (3rd ed). New Jersey: Prentice-Hall.

Pascoe, G.C. (1983). Patient satisfaction in primary health care: a literature review and analysis. Evaluation and Program Planning, 6(3-4), 185-210.

Ravangard, R., Khodadad, A., & Bastani, P. (2020). How marketing mix (7Ps) affect the patients’ selection of a hospital: experience of a low-income country. Journal of the Egyptian Public Health Association, 95(1), 1-8.

Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K. (1977). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Dutch Journal of Educational Research, 2, 49-60.

Sookchom, M. (2014). Relationship between Service Marketing Mix and Service Usage Behavior of Thai Massage Consumers in Bangkok Metropolitan Hospitals. Siam Academic Review, 14(2), 15-27.

Thamsurat, S., (2011). Service Quality Affecting the Decision to Choose the Private Hospital and Loyalty towards Private Hospital Branding in Bangkok (Independent Study for Master Degree) Bangkok: Bangkok University.

Tse, D.K. & Wilton, P.C. (1988). Models of Consumer Satisfaction Formation An Extension. Journal of Marketing Research, 25, 204-212.

Umoke, M., Umoke, P. C. I., Nwimo, I. O., Nwalieji, C. A., Onwe, R. N., Emmanuel Ifeanyi, N., & Samson Olaoluwa, A. (2020). Patients’ satisfaction with quality of care in general hospitals in Ebonyi State, Nigeria, using SERVQUAL theory. SAGE open medicine, 8, 2050312120945129.

Zeithaml, V.A., Parasuraman, A. & Berry, L.L. (2013). A Conceptual Model of Service Quality and Its Implication for Future Research. Journal of Marketing, 49, 41-50.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-08-24

How to Cite

เปี่ยมงาม ป. ., สันติวิไลลักษณ์ ห. ., & อุ่นปรีชาวณิชย์ น. . (2022). การเปรียบเทียบปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการและคุณภาพ การบริการระหว่างโรงพยาบาลของรัฐบาลและโรงพยาบาลเอกชน ในเขตเทศบาลเมืองพิจิตร. วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 4(2), 77–91. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jmspsru/article/view/261621