การจัดการการตลาดและสื่อสังคมออนไลน์แหล่งท่องเที่ยวเชิงการเรียนรู้ OTOP นวัตวิถี กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเครื่องปั้นดินเผาเคลือบศิลาดล ตำบลสัมปทวน อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม
คำสำคัญ:
การจัดการการตลาด , การตลาดดิจิทัล , แหล่งท่องเที่ยวเชิงการเรียนรู้บทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษากลยุทธ์การตลาดดิจิทัลการพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์และการเพิ่มศักยภาพในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลกับแหล่งท่องเที่ยวและผลิตภัณฑ์ให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเครื่องปั้นดินเผาเคลือบศิลาดล 2. เพื่อพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์ทางสื่อสังคมออนไลน์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเครื่องปั้นดินเผาเคลือบศิลาดลเป็นการวิจัยแบบผสมผสาน การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้ทฤษฎี วิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด (Swot Analysis) และส่วนประสมทางการตลาด (Marketing Mix) หรือ 4P’s และประมวลผลวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติโดยคำนวณหาค่าสถิติ ได้แก่ค่าความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage) พบว่าแอปพลิเคชัน Facebook ด้านประเภทเนื้อหา พบว่า
ส่วนใหญ่ มีระดับความคิดเห็นมากที่สุดเรื่อง Chatbot ทำให้สะดวกและรวดเร็วในการติดต่อระหว่างผู้ใช้งานกับเพจ อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ QR Code ทำให้มีความสะดวกต่อผู้ใช้งานมากขึ้น อยู่ในระดับมากที่สุด น้อยที่สุดคือการจัดทำและพัฒนา Page Facebook สร้างการรับรู้มากขึ้น อยู่ในระดับมาก
References
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). การพัฒนาสื่อสังคมออนไลน์ ผลิตภัณฑ์ไข่เค็มคุณป้า ชุมชนบ้านศาลาดิน นครปฐม. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 4(2), 29-44.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2564). พฤติกรรมการเปิดรับการสื่อสารการตลาดดิจิทัลของนักท่องเที่ยวประเภทวางแผนการเดินทางเอง กรณีศึกษากลุ่มนักท่องเที่ยวชาวเอเชียน. วารสารวิชาการและวิจัยมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 11(1), 304-318.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2564). การจัดการการตลาดดิจิทัลและการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์น้ำผึ้งจากอ้อยศูนย์การเรียนรู้อยู่เย็นเป็นสุขบ้านวังตะเคียนจังหวัดราชบุรี. วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 5(2), 15-28.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2564). แนวทางการพัฒนาสื่อสังคมออนไลน์ กลุ่มอาชีพสตรีแก้วถัก อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม. วารสารศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 8(1), 53-67.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2564). การพัฒนาสื่อสังคมออนไลน์วิสาหกิจชุมชนข้าวลุงรินตำบลเสม็ดอำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 23(2), 1-16.
Hootsuite. (2019). Social Media อันดับ 1 ที่คนไทยใช้กัน 2019. สืบค้น 20 มีนาคม 2563, จาก https://www.bullvpn.com/th/blog/detail/top-social-media-thailand-2019
MotionGraphicPlus. (2016). 5 สิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการออกแบบบรรจุภัณฑ์. สืบค้น 6 เมษายน 2563, จาก https://www.motiongraphicplus.com/archives/2338
Nattapon Muangtum. (2021). รายงานสถิติ Thailand Digital Stat 2021 จาก We Are Social. สืบค้น 6 เมษายน 2563, จาก https://www.everydaymarketing.co/knowledge/thailand-digital-stat-2021-we-are-social/
eMarketing Institute. (2018). Social Media Marketing: Social Media Marketing Fundamentals. Retrieved 05 05, 2022, from https://www.emarketinginstitute.org
Dollarhide, Maya E. (2021). Social Media Definition. Retrieved 06 04, 2022, from https://www.investopedia.com/terms/s/social-media.asp
Feder-Haugabook, A. (2017). Douglas Dollarhide. (1923-2008). BlackPast.org. Retrieved 06 02, 2021, from https://www.blackpast.org/african-american-history/dollarhide-douglas-1923-2008/
SEOPressor Connect Review:- The Best WordPress SEO Plugin. Retrieved 06 01, 2021, from https://www.digitaldesignjournal.com/seopressor-connect-review/
Cochran, W.G. (1977). Sampling Techniques (3rd Ed). John Wiley & Sons, New York.
Hajli, M. N. (2014). A study of the impact of social media on consumers. International Journal of Market Research, 56(3), 387–404. DOI: https://doi.org/10.2501/IJMR-2014-025
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม บทความที่ลงพิมพ์ใน วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม ถือว่าเป็นความเห็นส่วนตัวของผู้เขียน คณะบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย ผู้เขียนต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง