การปรับตัวทางวัฒนธรรม การสื่อสารเพื่อการปรับตัวทางวัฒนธรรมสำหรับนักฟุตบอลต่างชาติ ในสโมสรฟุตบอลไทย
คำสำคัญ:
การสื่อสาร, การปรับตัวทางวัฒนธรรม, นักฟุตบอลต่างชาติบทคัดย่อ
บทความนี้มีมุ่งเน้นในการอธิบายที่มาของการว่าจ้างนักฟุตบอลต่างชาติของสโมสรต่างๆ ในฟุตบอลไทยลีก โดยมีเหตุผลหลักเพื่อให้ทีมประสบความสำเร็จ และสร้างความนิยมให้กับแฟนฟุตบอลภายในท้องถิ่น เนื่องจากนักฟุตบอลต่างชาตินั้นมีความสามารถและประสบการณ์ในการเล่นฟุตบอลมากกว่านักฟุตบอล ชาวไทย แต่การว่าจ้างนักฟุตบอลต่างชาตินั้นแฝงไปด้วยปัญหาการปรับตัวให้เข้ากับวัฒนธรรมที่แตกต่างจากประเทศบ้านเกิดของตน จึงเป็นที่มาของการศึกษาแนวทางในการสื่อสารเพื่อการปรับตัวทางวัฒนธรรมของ นักฟุตบอลต่างชาติในสโมสรฟุตบอลไทยลีก โดยมีการอธิบายผ่านแบบจำลอง “สมาร์ทโมเดล” มีรายละเอียดดังนี้ 1) การเรียนรู้รูปแบบในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ 2) การเฝ้าระวังในการใช้งาน 3) การใช้เพื่อการปรับตัวทางวัฒนธรรม 4) การใช้เพื่อการสร้างความสัมพันธ์ในสังคมไทย และ5) การใช้ในการฝึกฝนในการใช้ชีวิตทั้งในสนามและนอกสนาม
References
ชยันธร ใจมูล. (2560). เงินที่มากไปและใจที่ไม่มากพอสำหรับ เซี่ยงไฮ้ เสิ่นหัว และ คาร์ลอส เตเวซ | MAIN STAND. สืบค้น 9 เมษายน 2564, จาก https://www.mainstand.co.th/catalog/1- FEATURE/930.
นันท์สินี มุ่นเชย, สุนันท์ ธาติ และศุภเชษฐ์ กันทะณีย์. (2563). การออกแบบและพัฒนาส่วนต่อประสานกับ ผู้ใช้งานสําหรับแอปพลิเคชันบนอุปกรณ์เคลื่อนที่แนะนําการท่องเที่ยวเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจการ ท่องเที่ยวภายใต้โครงการเรารักเชียงใหม่ (We love Chiang Mai). วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม, 2(2), 1-12.
เมตตา วิวัฒนานุกูล. (2559). การสื่อสารต่างวัฒนธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
รังสรรค์ ธนะพรพันธ์. (2544). การศึกษาทุนนิยมและโลกานุวัตร. กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ : มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
วสันต์ ปัญญาแก้ว และคณะ. (2557). ฟุตบอลไทย ประวัติศาสตร์ อำนาจ การเมือง และความเป็นชาย. กรุงเทพฯ: ศูนย์ศึกษาปัญหาการพนัน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วสันต์ ปัญญาแก้ว เเละคณะ. (2559). ฟุตบอลไทยพรีเมียร์ลีก : ผู้หญิง อำนาจ วัฒนธรรมแฟนและอำนาจใหม่. กรุงเทพฯ: ศูนย์การศึกษาปัญหาพนัน คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วายร้ายสีแดง เเละหมู่ตู่. (2553). วิชาบอล 001. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วงกลม.
วิสูตร ดำหริ. (2562). ทำตัวเอง! ฟานกัลเปิดปม'ดิ มาเรีย'ล้มเหลวกับผี. สืบค้น 9 เมษายน 2564, จาก https://www.goal.com/th/%ข่าว/ทำตัวเอง-ฟานกัลเปิดปมดิ-มาเรยล้มเหลวกับผี/126iw69c6ebvd1bfa8r7apoh8v.
min. (2559). รับเน้นๆ! เผยตัวเลขก้อนโต เลสเตอร์รับทรัพย์เท่าไหร่หากได้แชมป์พรีเมียร์ลีก?. สืบค้น 9 มีนาคม 2562, จาก http://www.90min.com/th/posts/3163934.
Andreff, W. (2007). Financing Modern Sport in the Face of a Sporting Ethic. European Journal for Sport Management Quarterly, 7(1), 5–30.
Fenton, W. (2009). The global sponsorship market. Journal of Sponsorship, 2(2), 120–130.
FourFourTwo Thailand. (2559). Fallen Angels : 11 สุดยอดแข้งเทวดาตกสวรรค์ไทยลีก. สืบค้น 13 สิงหาคม 2564, จาก https://www.facebook.com/watch/?v=984869778272025.
Katz, E, Blumer, J.G. and Gure, V. (1974). Utilization of Mass Communication by the Individual. Beverly Hills: Sage Publication.
Khobsanam. (2563). รวมศิษย์เก่าบีอีซี เทโรศาสนที่ผันตัวมาเป็นโค้ชไทยลีก. สืบค้น 12 มีนาคม 2562, จาก https://www.khobsanam.com/column/107225.
News, S. (2557). 10 เกมกีฬาเงินรางวัลสูงสุดของโลก. สืบค้น 9 มีนาคม 2562, จาก https://www.sanook.com/news/1554221/.
Nidapol. (2560). การติดตามฟุตบอลพรีเมียร์ลีกอังกฤษ และฟุตบอลไทยลีก 2017. Retrieved April 9, 2017, from https://nidapoll.nida.ac.th/survey_detail?survey_id=239.
Punpong, A. (2019). Communication for the Foreign Football Players’ Cultural Adjustment in Thailand Football Club. Thesis Doctor of Philosophy, The Graduate School of Communication Arts and Management Innovation, National Institute of Development Administration.
Samovar, L.A., Porter, R.E., and McDaniel, E. (2010). Communication between cultures. Seventh Edition. Boston MA : Wadsworth Cengage Learning.
คมชัดลึก. (2561). สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (ฟีฟ่า) เผยตัวเลขของผู้ชมศึกฟุตบอลโลก 2018 ในทุกช่องทางตลอดทั้งทัวร์นาเมนต์ ซึ่งผลปรากฏว่าอยู่ที่ 3.57 พันล้านคน. สืบค้น 13 สิงหาคม 2564, จาก https://www.komchadluek.net/news/sport/356551
Smm Sport. (2559). 10 นักเตะแพงที่สุดในโลก (ฉบับใหม่แกะกล่อง). สืบค้น 12 มีนาคม 2562, จาก http://www.smmsport.com/reader.php?article=7266. (2560)
Soderman, S. and H. D. (2008). Strategic fit in international sponsorship: The case of The Olympic Games in Beijing 2008. International Journal of Sports Marketing and Sponsorship, 9(2), 95–110.
Thai League. (2563). Clubs. สืบค้น 9 เมษายน 2564, จาก https://www.thaileague.co.th/
Thaipublica. (2558). เปิด “ท่อน้ำเลี้ยง” ทีมลูกหนังอาชีพไทย พึ่งเงินสปอนเซอร์เป็นหลัก – งบทำทีมเฉลี่ย 122 ล้าน สูงกว่าเงินรางวัลคว้าทุกแชมป์ถึง 3 เท่า. สืบค้น 9 เมษายน 2564, จาก http://thaipublica.org/2015/09/tpl-2/
Thairath Online. (2557). อัลเฟรโด ดิ สเตฟาโน. สืบค้น 9 เมษายน 2564, จาก http://www.thairath.co.th/content/435140
Thairath Online. (2564). จากตกชั้นสู่แชมป์ลีก : เส้นทาง "บีจี ปทุม ยูไนเต็ด" ก่อนคว้าแชมป์ครั้งประวัติศาสตร์. สืบค้น 9 เมษายน 2564, จากhttps://www.thairath.co.th/sport/thaifootball/2056985.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม บทความที่ลงพิมพ์ใน วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม ถือว่าเป็นความเห็นส่วนตัวของผู้เขียน คณะบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย ผู้เขียนต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง