คุณภาพชีวิตการทำงานและพฤติกรรมการเป็นพนักงานที่ดีของพนักงานธนาคารอาคารสงเคราะห์เขต 4 นครสวรรค์

ผู้แต่ง

  • อรุณี นุสิทธิ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
  • ณฐกร สมสงวน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

คำสำคัญ:

คุณภาพชีวิตการทำงาน, พฤติกรรมการเป็นพนักงานที่ดี

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตการทำงานที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเป็นพนักงานที่ดีขององค์กรในกลุ่มพนักงานธนาคารอาคารสงเคราะห์เขต 4 นครสวรรค์ โดยเก็บข้อมูลจากพนักงานทั้งหมด 80 รายด้วยแบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลคือ การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis) ผลการศึกษาพบว่า คุณภาพชีวิตการคุณภาพชีวิตด้านการพัฒนาความรู้ความสามารถ ด้านความสัมพันธ์ที่ดี และด้านความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงานอิทธิพลทางบวกต่อพฤติกรรมการเป็นพนักงานที่ดี โดยคุณภาพชีวิตด้านดังกล่าวมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเป็นพนักงานที่ดีขององค์กรถึงร้อยละ 47.90 (R2 =0.479)

References

เกศริน ป่งกวาน. (2558). คุณภาพชีวิตการทำงาน แนวทางการปฏิบัติงานที่ดี และแรงจูงใจในการทางานที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานธนาคารพาณิชย์ไทยแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ชรีภรณ์ ชนะสงคราม. (2555). คุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) สำนักงานเขตพื้นที่เทพารักษ์. การค้นคว้าอิสระ ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรม) มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

ธนาคารอาคารสงเคราะห์. (2561). แผนยุทธศาสตร์ ปี 2560-2564 แผนปฏิบัติการ ปี 2561. สืบค้นเมื่อ 1 เมษายน 2561, จาก https://www.ghbank.co.th/information/plan/annual-strategic-plan-and-operation-plan/

ฐิติพร ก้อนนาค. (2556). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจการทำงานกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร กรณีศึกษา พนักงานธนาคารกรุงเทพ จากัด(มหาชน) สำนักธุรกิจถนนตากสิน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน) มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ธิดาเดียว เจริญมิตร. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานธนาคารออมสิน ในเขตจังหวัดนครปฐม. การค้นคว้าอิสระปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน) มหาวิทยาลัยศิลปากร.

นภดล เตชัย, สุพรรษา จิตมั่น และระพินทร โพธิ์ศรี. (2558). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันต่อองค์กรและความสำเร็จในการทำงานของพนักงานธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ฝ่ายกิจการสาขาภาคเหนือตอนล่าง. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมสัมมนาวิชาการนาเสนองานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 15. หน้า 73 - 87.

พรพรรณ ภักดี. (2556). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเป็นพนักงานที่ดีของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สาขาบริหารศาสตร์) มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

อรฤดี ธิติเสรี. (2559). อิทธิพลของพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรและความผูกพันต่อองค์การที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค. การค้นคว้าอิสระ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัญฑิต (สาขาการจัดการทั่วไป) คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

Huse, E.F. and Thomas G. Cummings. (1985). Organization development and change. (3rd ed.). Minnesota: West Publishing.

Nekouei, M. H., Othman, M. B., Masud, J. B., and Ahmad, A. B. (2014). Quality of work life and job satisfaction among employee in government organizations in IRAN. Journal of Basic and Applied Scientific Research, 4(1), 217-229.

Pradhan, R.K., Jene, L. K., and Kumari, I. G. (2016). Effect of Work-Life Balance on Organnizational Citizenship Behaviour: Role of Orgenizational Commitment. Global Business Review, 17(35), 15S-29S.

Rousseau, V., and Aube, C. (2010). Social support at work and affective commitment to the organization: The moderating effect of job resource adequacy and ambient conditions. The Journal of Social Psychology, 150(4), 321–340.

Organ, D. W. (1987). Organization Citizenship Behavior: The good soldier syndrome, Massacusetts: Lexinton.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-27

How to Cite