ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ภาพลักษณ์กับความพึงพอใจในคุณภาพการให้บริการของลูกค้าร้านกาแฟในเขตอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก

ผู้แต่ง

  • สุธาสินี อรุณ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

คำสำคัญ:

การรับรู้ภาพลักษณ์, ความพึงพอใจในคุณภาพการให้บริการ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ภาพลักษณ์กับความพึงพอใจในคุณภาพการให้บริการของลูกค้าร้านกาแฟในเขตอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือกลุ่มลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการร้านกาแฟในเขตอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก จานวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient) ผลการศึกษาพบว่า การรับรู้ภาพลักษณ์มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในคุณภาพการให้บริการของร้านกาแฟอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

References

กิตติยา เหมังค์. (2548). ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการรับฝาก ณ ที่ทำการไปรษณีย์หลักสี่. ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทั่วไป, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา.

ขนิษตา สังฆรักษ์. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ภาพลักษณ์กับความพึงพอใจในคุณภาพการให้บริการลูกค้าของธนาคารกรุงไทย และธนาคารออมสินในเขตอำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย,2(1), 33-48.

คทัยวรรณ เทียนเสม. (2548). ภาพลักษณ์ของสายการบินแจลเวย์ในความคิดเห็นของผู้สมัครตำแหน่งพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน. รายงานโครงการเฉพาะบุคคลมหาบัณฑิต. คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

จินตวีร์ เกษมศุข. (2554). การสื่อสารกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม. กรุงเทพฯ :จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธีรวุฒิ เอกะกลุ. (2550). ระเบียบวิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. อุบลราชธานี: สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี.

นัฐกานต์ เครือชัยแก้ว. (2559). การรับรู้ภาพลักษณ์ของตราสินค้าและคุณภาพการบริการที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการร้านอาหารญี่ปุ่นในเขตกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.)

บริษัท อินเตอร์สเปซ ประเทศไทย จำกัด (2016, June 9). ทำยังไงให้ประสบความสาเร็จในตลาดธุรกิจกาแฟสด. สืบค้น 3 ธันวาคม 2561 จาก https://moneyhub.in.th/article/coffee-shop-business-success/

พรทิพย์ พิมลสินธุ์. (2540). ภาพพจน์นั้นสำคัญยิ่ง: การประชาสัมพันธ์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: ประกายพรึก.

พิทวัสค์ โยธินบุนนาค และดารณี พิมพ์ช่างทอง. (2559). ภาพลักษณ์ร้านค้าที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ของลูกค้า: กรณีศึกษา ร้านแม็คยีนส์ เขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 6(1), 63-76.

ไพลิน บรรพโต. (2556). ทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อส่วนประสมทางการตลาดและความพึงพอใจต่อร้านกาแฟสดในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารปัญญาภิวัฒน์, (4),

วันชัย แก้วศิริโกมล. (2550). ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการให้บริการของสำนักงาน เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯมหานคร. ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทั่วไป, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา.

วิรัช ลภิรัตนกุล. (2540). การประชาสัมพันธ์ฉบับสมบูรณ์. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุภชา ใสงาม.(2552).จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.สืบค้น 9 ธันวาคม 2561 จาก https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16427

Cochran, W.G. (1977). Sampling Techniques. 3rd Edition, John Wiley & Sons, New York.

Donald W. Jugenheimer. (1979). Brand Loyalty, Measurement and Management. Jacoby, Jacob, and Robert W. Chestnut. New York: John Wiley & Sons, 1978. 120 pp, Journal of Advertising, 8:2, 46, DOI: 10.1080/00913367.1979.10717981

Euromonitor International. (2017). CAFES/BARS IN THAILAND. Mintel Market Sizes, Coffee Shop in Thailand.

Greed is Goods. (2017, Jan 12). Service Quality or SERVQUAL. Retrieved December 9, 2018 from https://greedisgoods.com/servqual-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD/

Lee, H., Lee, Y. & Yoo, D. (2000). The determinants of perceived service quality and its relationship with satisfaction, Journal of Service Marketing, Vol. 14, Number 3, p.217-231.

Mulder, P. (2018). SERVQUAL Model. Retrieved December 29, 2018 from ToolsHero: https://www.toolshero.com/quality-management/servqual-model/

Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., & Berry, L. L. (1985). A conceptual model of service quality and its implications for future research. The Journal of Marketing, 41-50.

Trasorras, R J. (2009). The relationship of Value, Satisfaction and Loyalty on Customer Retention in The Professional Service Sector. Marketing Intelligence & Planning, 27(5).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-27

How to Cite