อิทธิพลของการรับรู้ภาระงานกับภาวะหมดไฟในการทำงานของพนักงาน กลุ่มเจเนอเรชั่นวายและซี ของบริษัทบริหารสินทรัพย์แห่งหนึ่ง โดยมีค่าตอบแทน เป็นตัวแปรกำกับ

Main Article Content

บุษกร คำโฮม*
สมรักษ์ รัตนวัน

บทคัดย่อ

         งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของการรับรู้ภาระงานต่อภาวะหมดไฟในการทำงาน โดยมีค่าตอบแทนเป็นตัวแปรกำกับ เก็บรวบรวมข้อมูลจากพนักงานเจเนอเรชั่นวาย และเจเนอเรชั่นซี ในบริษัทบริหารสินทรัพย์แห่งหนึ่ง จำนวน 312 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยนี้คือแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การแจกแจงความถี่ ร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสหสัมพันธ์เพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ


         ผลการวิจัยพบว่า 1) การรับรู้ภาระงานมีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก 2) ความพึงพอใจในค่าตอบแทนมีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับน้อย 3) ภาวะหมดไฟในการทำงานมีค่าเฉลี่ยโดยรวมในระดับปานกลาง 4) การรับรู้ภาระงานมีอิทธิพลเชิงบวกต่อภาวะหมดไฟในการทำงาน  5) ค่าตอบแทนเป็นตัวแปรกำกับความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ภาระงานต่อภาวะหมดไฟในการทำงาน

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Article)

References

กิตติโชติ วุฒิวรสิน. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างความเหนื่อยหน่ายในงานและคุณภาพบริการของพนักงานธนาคารพาณิชย์. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, บัณฑิตวิทยาลัย.

ฐานิฎา เจริญเลิศวิวัฒน์. (2558). ความพึงพอใจในค่าตอบแทน สวัสดิการและคุณภาพชีวิตการทำงานที่มีผลต่อความจงรักภักดีต่อองค์กร : กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, คณะบริหารธุรกิจ.

ทัศนีย์ สิรินพมณี, เมธาวี อุดมธรรมานุภาพ, และ สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต. (2563). การรับรู้ภาระงาน สัมพันธภาพในงานการสนับสนุนทางสังคมต่อความเหนื่อยหน่ายในงานของพยาบาลวิชาชีพ โดยมีอิทธิบาทสี่ เป็นตัวแปรกำกับ. วารสารพยายาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 30(2), 58-71.

ทิพรัตน์ บำรุงพนิชถาวร, วัลลภ ใจดี, เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์, และ นิภา มหารัชพงศ์. (2565). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อภาวะหมดไฟในการทำงานของผู้ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ Covid-19. วารสารสาธารณสุข มหาวิทยาลัยบูรพา. 17(1),100 -110.

บริษัทบริหารสินทรัพย์ กรุงเทพพาณิชย์ จำกัด (มหาชน). (2564). แบบแสดงรายการข้อมูลประจำปี. สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2565, จาก https://market.sec.or.th/public/idisc/th/FinancialReport/R561-0000001882

บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร. (2555). การพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย : คุณสมบัติการวัดเชิงจิตวิทยา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประพันธ์ ชัยกิจอุราใจ. (2560). ผลกระทบของค่าตอบแทนที่มีต่อพฤตกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ และผลการปฏิบัติงานของพนักงานในกลุ่มอุตสาหกรรมไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ และโทรคมนาคม (รายงานวิจัย). กรุงเทพ: วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

ปองกานต์ ศิโรรัตน์. (2563). การศึกษาเกี่ยวกับภาวะหมดไฟในการทํางาน (Job Burnout) ของพนักงานองค์กรรัฐวิสาหกิจ กลุ่มเจเนอเรชั่นเบบี้บูมเมอร์. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหิดล, วิทยาลัยการจัดการ.

พัลพงษ์ สุวรรณวาทิน และ ชิตพงษ์ อัยสานนท์. (2560). การรับรู้ภาระงาน และความเหนื่อยหน่ายในการทํางานของพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน โดยมีการสื่อสารภายในองค์การ และความเครียดในการทํางานเป็นตัวแปรกํากับ. วารสารวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน, 3(1), 93 -106.

ภรณฉัตร โอฐเจริญชัย. (2561). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะขาดประสิทธิภาพในการทำงานขณะป่วยและ ภาวะหมดไฟในการทำงานของครูโรงเรียนเอกชน. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, คณะวิทยาศาสตร์.

มนัสพงษ์ มาลา. (2563). ภาวะเมื่อยล้าหมดไฟในการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เขตสุขภาพที่ 4 (รายงานวิจัย). สืบค้นเมื่อ15 กุมภาพันธ์ 2565, จาก https://do4.hss.moph.go.th/images/63/02/วิจัยภาวะเมื่อยล้าหมดไฟในการปฏิบัติงาน.pdf

มนัสวี ศรีนนท์. (2561). ทฤษฎีเจเนอเรชันกับกรอบวิธีคิด. วารสาร “ศึกษาศาสตร์ มมร” คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 6(1), 374-373.

ลลิดา แท่งเพ็ชร. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ภาระงาน สัมพันธภาพในการทำงานกับความเหนื่อยหน่ายในงานโดยมีการรับรู้ความสามารถของตนเองเป็นตัวแปรกำกับ (งานวิจัยส่วนบุคคลปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์.

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2564). “Gen Z” First Jobber รุ่นใหม่เพื่อเข้าใจ"ความต่าง". สืบค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2565, จาก https://www.kasikornresearch.com/th/analysis/k-social-media/Pages/Gen-Z-11-08-21.aspx

สิฐ์จิรากิจ หิรัญดลรัชต์. (2563). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในค่าตอบแทนและความพึงพอใจในงาน กรณีศึกษา: ข้าราชการกรมราชทัณฑ์ในสังกัดเรือนจำเขต 2. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยรามคำแหง, คณะบริหารธุรกิจ.

สุรารักษ์ สุพัฒนมงคล และ วันทนา เนาว์วัน. (2562). ปัจจัยค่าตอบแทนที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานฝ่ายผลิต บริษัทนิโปร (ประเทศไทย) จำกัด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์, 21(1), 17-24.

เสาวลักษณ์ สระศรีสม. (2564). ภาระงานที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในงานของบุคลากรกองคลังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดกาญจนบุรี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร, บัณฑิตวิทยาลัย.

อุทิส ศิริวรรณ. (2559). จริต 6 กับคนเจนวาย: เปรียบเทียบคน 14 อารมณ์กับคน 3 ยุค. วารสารทางเดิน, 41(174). สืบค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2565, จาก https://www.druthit.com/212-จริต-๖-กับคน-gen-y/

Baakile, M. (2011). Comparative analysis of teachers’ perception of equity, pay satisfaction, affective commitment and intention to turnover in Botswana. Journal of Management Research, 3(1), 1-21.

Bakker, A. B., Van Der Zee, K. I., Lewig, K. A. & Dollard, M. F. (2006) The relationship between the big five personality factors and burnout: A study among volunteer counselors. The Journal of Social Psychology, 146(1), 31-50.

Baron, R. M., & Kenny, D. A. (1986). The moderator–mediator variable distinction in social psychological research: Conceptual, strategic, and statistical considerations. Journal of Personality and Social Psychology, 51(6), 1173–1182.

Deloitte. (2018). Workplace burnout survey. Retrieved May, 1, 2022, from https://www2.deloitte.com/us/en/pages/about-deloitte/articles/burnout-survey.html

Demerouti, E., Bakker, A. B., Nachreiner, F., & Schaufeli, W. B. (2001). The job demands: Resources model of burnout. Journal of Applied Psychology, 86(3), 499-512.

Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.

Maslach, C., & Leiter, M. P. (2008). Early predictors of job burnout and engagement. Journal of Applied Psychology, 93(3), 498–512.

Maslach, C., & Jackson, S. E. (1981). The measurement of experienced burnout. Journal of Occupational Behaviour, 2(2), 99-113.

Maslach, C., Schaufeli, W. B., & Leiter, M. P. (2001). Job burnout. Annual Review of Psychology, 52, 397-422.

Muldary, T. W. (1983). Burnout and Health Professionals: Manifestations and Management. California: Capistrano Press, Ltd.

Newman, J. M., Gerhart, B., & Milkovich, G. T. (2017). Compensation (12th ed.). New York: McGraw-Hill.

Pendell, R. (2018). Millennials are burning out. Retrieved May, 1, 2022, from https://www.gallup.com/workplace/237377/millennials-burning.aspx

Rasoulian, M., Elahi, F., & Ebrahimi, A. A. (2004). The relationship between job burnout and personality traits in nurses. Iranian Journal of Psychiatry and Clinical Psychology, 9(4), 18-24.

Smith, M. M. A., Segal, J., & Robinson, L. (2019). Burnout prevention and treatment. Retrieved May, 1, 2022, from https://www. helpguide.org/articles/ stress/burnout-prevention-and-recovery.htm

Tremblay, M., Sire, B., & Balkin, D. (2000). The role of organizational justice in pay and employee benefit satisfaction and its effects on work attitudes. Group & Organization Management, 25(3), 268-289.

Vandenberghe, C., & Tremblay, M. (2008). The role of pay satisfaction and organizational commitment in turnover intentions: A two-sample study. Journal of Business Psychology, 22, 275-286.

World Health Organization. (2019). Burn-out an “occupational phenomenon”. Retrieved May, 1, 2022, from https://www.who.int/news/item/28-05-2019-burn-out-an-occupational-phenomenon-international-classification-of-diseases