สถานภาพของงานนาฏกรรมในรัชกาลที่ 3

Main Article Content

ธรรมจักร พรหมพ้วย

บทคัดย่อ

การศึกษาสถานภาพของงานนาฏกรรมในรัชกาลที่ 3 เป็นการวิจัยเชิง
ประวัติศาสตร์ที่มุ่งศึกษาปัจจัยทางสังคมที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงงานนาฏกรรม โดย
มุ่งที่จะศึกษาประวัติศาสตร์นาฏกรรมในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระหว่าง พ.ศ.2367-2394 โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยผสมผสาน ที่ได้รวบรวมและค้นคว้า
เอกสารชั้นต้นและชั้นรอง และหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี ประเภท
จิตรกรรมและประติมากรรม ผลการวิจัยพบว่างานนาฏกรรมในรัชกาลที่ 3 ยังคง
ปรากฏอยู่ในราชสานักและนอกราชสานัก มีหน้าที่ตอบสนองความต้องของสังคมในเชิง
พิธีกรรมและความบันเทิง แม้ว่าพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวจะมิได้ให้
ความสาคัญ กับงานนาฏกรรมเท่าใดนัก แต่กลับทาให้รูปแบบ นาฏกรรม
ของหลวงเผยแพร่ไปสู่วังนอกของเจ้านายและเรือนของขุนนาง จนทาให้มีการละเมิด
ธรรมเนียมราชสานักเรื่องการมีละครหรือมโหรีผู้หญิงประดับเกียรติยศ นอกจากนี้
ปัจจัยจากสภาพสังคม เช่น ระบบเศรษฐกิจ ระบบไพร่ การขยายตัวของพระนคร ความ
หลากหลายทางเชื้อชาติและศาสนา เป็นผลให้นาฏกรรมกระจายตัวโดยแพร่หลาย
ประชากรมีรายได้เพิ่มมากขึ้นจนสามารถใช้จ่าย เพื่อความบันเทิงและการพนันได้
ปรากฏพิกัดการกระจายตัวของนาฏกรรมทั่วไปในพระนคร เมืองประเทศราชและหัว
เมืองสาคัญ โดยเฉพาะวัดที่สร้างและปฏิสังขรณ์ในรัชกาลที่ 3 มากกว่า 70 วัด เป็น
แหล่งที่ต้องใช้นาฏกรรมเป็นมหรสพสมโภชเมื่อเฉลิมฉลองและวันสาคัญทางศาสนา

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

ธรรมจักร พรหมพ้วย

นิสิตระดับปริญญาเอก หลักสูตรศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขานาฏยศิลป์ไทย
ภาควิชานาฏยศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

References

(2548) กฎหมายตราสามดวง ฉบับพิมพ์มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และ
การเมือง แก้ไขปรับปรุงใหม่. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ.
กรมศิลปากร. (2530) จดหมายเหตุ รัชกาลที่ 3 เล่ม 1-5. กรุงเทพฯ : กรม
ศิลปากร.
--------. (2525) จดหมายเหตุการบูรณะปฏิสังขรณ์วัดพระศรีรัตนศาสดาราม และ
พระบรมมหาราชวัง ในการฉลองพระนครครบ 200 ปี พุทธศักราช 2525.
กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร.
--------. (2530) ตานานวัตถุสถานต่าง ๆ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง
สถาปนา และกรมสมเด็จพระศรีสุลาไลย พระบรมราชชนนีพันปีหลวง. พิมพ์
ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : อมรินทร์ พริ้นติ้ง กรุ๊พ.
ขจร สุขพานิช. (2548) ฐานันดรไพร่. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : สมาคม
ประวัติศาสตร์ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม-
ราชกุมารี.
คณะสงฆ์วัดพระเชตุพน. (2554) ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน. พิมพ์ครั้งที่ 7.
กรุงเทพฯ : คณะสงฆ์วัดพระเชตุพน.
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2553) พระราชพิธีสิบสองเดือน.
กรุงเทพฯ : เพชรกะรัต.
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2547) ประชุมประกาศรัชกาลที่ 4. กรุงเทพฯ : มูลนิธิ
โตโยต้าประเทศไทย : มูลนิธิโครงการตาราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
ดารงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา. (2463) ประชุมบทราโคม. พระนคร :
โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร.
--------. (2546) ละครฟ้อนรา : ประชุมเรื่องละครฟ้อนรากับระบาราเต้น ตาราฟ้อน
รา ตานานเรื่องละครอิเหนา ตานานละครดึกดาบรรพ์. กรุงเทพฯ : มติชน.
--------. (2546) พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 2. พิมพ์ครั้งที่ 9.
กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร,.
ถาวร สิกขโกศล. (2555) "ประวัติงิ้วในเมืองไทย". ใน งิ้วในบริบทสังคมและ
ศิลปวัฒนธรรมไทย ความเปลี่ยนแปลงและการพื้นฟูสู่ประชาคมอาเซียน
ในทางวัฒนธรรม. หน้า 33-53. กรุงเทพฯ : สถาบันไทยคดีศึกษา
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ทิพากรวงศ์, เจ้าพระยา. (2547) พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 3
ของเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขา บุนนาค). พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ :
สานักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร.
นรินทรเทวี, พระเจ้าไปยิกาเธอ กรมหลวง. (2552) พระราชวิจารณ์ใน
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เรื่อง จดหมายความทรงของ
จากรมหลวงนรินทรเทวี (เจ้าครอกวัดโพ). พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ :
แสงดาว.
นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. (ม.ป.ป.) คาศัพท์ทางมานุษยวิทยา. [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อ 15
กันยายน 2559. จาก http://www.sac.or.th
นั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2540) บทละครนอก สังข์ศิลป์ชัย :
พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3).
กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
แน่งน้อย ศักดิ์ศรี, ม.ร.ว. (2549) พระอภิเนาว์นิเวศน์ : พระราชนิเวศน์ใน
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : มติชน.
บดินทรไพศาลโสภณ, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวง. (2552) ความทรงจาของกรม
หลวงบดินทรไพศาลโสภณ. กรุงเทพฯ : ต้นฉบับ.
(2464) บทสักรวา เรื่องอิเหนา เล่นถวายในรัชกาลที่ 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
โสภณพิพรรฒธนากร.
(2472) ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 51 จดหมายเหตุเมื่อพระบาทสมเด็จพระ
นั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวสวรรคต. พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร.
ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล. (2534) เบิกโรง : ข้อพิจารณานาฏกรรมใน
สังคมไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ปาลเลอกัวซ์, ฌอง แบปติสต์; สันต์ ท. โกมลบุตร, แปล. (2552) เล่าเรื่อง
กรุงสยาม. พิมพ์ครั้งที่ 4. นนทบุรี : ศรีปัญญา.
(2457) เรื่องนางนพมาศ หรือ ตาหรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ฉบับหอพระสมุด
วชิรญาณ. พระนคร : หอพระสมุดวชิรญาณ.
วารุณี โอสถารมย์. (2555) "งิ้วในบริบทสังคม ศิลปะ วัฒนธรรมไทย". ใน งิ้วใน
บริบทสังคมและศิลปวัฒนธรรมไทย ความเปลี่ยนแปลงและการพื้นฟูสู่
ประชาคมอาเซียนในทางวัฒนธรรม. หน้า 81-111. กรุงเทพฯ : สถาบัน
ไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เวลลา, วอลเตอร์ เอฟ; นิจ ทองโสภิต, แปล. (2530) แผ่นดินพระนั่งเกล้า Siam
Under Rama III. พิม พ์ค รั้งที่ 2 . ก รุงเท พ ฯ : ก อ งวรรณ ค ดีแ ล ะ
ประวัติศาสตร์.
ศักดิ์ชัย สายสิงห์. (2551) งานช่าง สมัยพระนั่งเกล้าฯ. กรุงเทพฯ : มติชน.
ศานติ ภักดีคา. (2552) จดหมายเหตุวัดพระเชตุพน สมัยรัชกาลที่ 1-4. กรุงเทพฯ
: คณะสงฆ์วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม และมูลนิธิทุนพระพุทธยอดฟ้า ใน
พระบรมราชูปถัมภ์.
ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี ม. ร. ว., บรรณาธิการ. (2536) ประชุมหมายรับสั่ง ภาค
4 สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว.
กรุงเทพฯ : คณะกรรมการชาระประวัติศาสตร์ไทย และจัดพิมพ์เอกสารทาง
ประวัติศาสตร์และโบราณคดี สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี.
สกินเนอร์, จอร์จ วิลเลียม; พรรณี ฉัตรพลรักษ์; และชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2548)
สังคมจีนในประเทศไทย : ประวัติศาสตร์เชิงวิเคราะห์. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพฯ : มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย : มูลนิธิโครงการตาราสังคมศาสตร์
และมนุษยศาสตร์.
สานักราชเลขาธิการ. (2555) เรื่องพระราชานุกิจ. กรุงเทพฯ : สานักราชเลขาธิการ.
สุรพล วิรุฬห์รักษ์. (2547) วิวัฒนาการนาฏยศิลป์ไทยในกรุงรัตนโกสินทร์ พ.ศ.
2325-2477. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
อุดมสมบัติ, หลวง. (2554) จดหมายหลวงอุดมสมบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 9. นนทบุรี : ศรี
ปัญญา.
Crawfurd, John. (1830) Journal of an embassy from the governorgeneral
of India to the courts of Siam and Cochin China;
exhibiting a view of the actual state of those kingdoms.
2nd ed. London : Henry Colburn and Richard Bentley.
วา