ความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีไทยกับกลบทศิริวิบุลกิตติ์

Main Article Content

ณรงค์ เขียนทองกุล

บทคัดย่อ

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีไทยกับกลบทศิริวิบุลกิตติ์ มีผล
การศึกษา 2 ข้อ ดังนี้คือ 1) ได้ศึกษาโครงสร้างดนตรีไทยโดยเน้นลูกตกทำนองเพลง
ไทยเปรียบเทียบกับแผนผังการบังคับสัมผัสชองกลบทที่มีชื่อเหมือนกันทั้งชื่อเพลงกับ
ชื่อกลบท ตัวอย่างเพลงที่ศึกษา 2 เพลง ได้แก่ เพลงสิงโตเล่นหาง และเพลงนาคราช
ในกรณีเพลงสิงโตเล่นหาง โครงสร้างของเพลง ลูกตกและทำนองใกล้เคียงกับแผนผัง
ของกลบทชื่อสิงโตเล่นหาง ในขณะที่เพลงนาคราช โครงสร้างของเพลง ลูกตกและ
ทำนองแตกต่างกับแผนผังของกลบท การตีความในเชิงภาพพจน์ทำให้เห็นเพลงกับกล
บทมีลักษณะการสะบัดของหางงู 2) เรื่องดนตรีไทยปรากฏในกลอนกลบทศิริวิบุลกิตติ์
พบเรื่องเครื่องดนตรีไทย การขับกล่อมการขับร้อง วงดนตรีไทย ได้แก่ วงปี่พาทย์ วง
ประโคม ดนตรีในราชสำนัก

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

ณรงค์ เขียนทองกุล

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจาภาควิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยา
เขตบางเขน

References

กรมศิลปากร. (2545). วรรณกรรมสมัยอยุธยา เล่ม 3. กรุงเทพฯ : สานักวรรณกรรม
และประวัติศาสตร์.
โกชัย สาริกบุตร. (2518). การวิเคราะห์กลบทในกวีนิพนธ์ไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
คุรุสภา.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2552). ศิริวิบุลกิตติ์. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554
กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน.
วราภรณ์ บารุงกุล. (2537). ร้อยกรอง. กรุงเทพฯ : ต้นอ้อ.
สุภา ฟักข้อง. (2014). กลบทสิริวิบุลกิติ. เข้าถึงเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2562
https://www.poetthai.com/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%
AD%E0%B8%99%E0%B8%A7%
เศรษฐ พลอินทร์. (2524). ลักษณะคาประพันธ์ไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อักษรไทย.