แนวทางการศึกษาวัฒนธรรมดนตรีลุ่มน้ำโขง

Main Article Content

เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี

บทคัดย่อ

วัฒนธรรมดนตรีในภูมิภาคลุ่มน้ำโขงมีความหลากหลายมาก ความ
หลากหลายทางดนตรีเกิดจากปัจจัยใด การศึกษาวัฒนธรรมดนตรีลุ่มน้ำโขงมีแนวทาง
อย่างไร และเราควรศึกษาอะไรในวัฒนธรรมดนตรีลุ่มน้ำโขง บทความวิชาการนี มี
วัตถุประสงค์เพื่อน้ำเสนอแนวทางศึกษาวัฒนธรรมดนตรีในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
ผลการศึกษาพบว่า ประการแรก ปัจจัยที่มีผลต่อการศึกษาวัฒนธรรมดนตรี
ลุ่มน้ำโขง ได้แก่ ปัจจัยทางด้านการเมืองการปกครอง และปัจจัยทางด้านประชากร-
วัฒนธรรม ประการที่สอง แนวทางในการศึกษาวัฒนธรรมดนตรีลุ่มน้ำโขงแบ่งออกเป็น
สองกลุ่ม ได้แก่ แนวคิดด้านดนตรีราชส้านัก และแนวคิดด้านดนตรีพื นถิ่นและชาติพันธุ์
ประการสุดท้าย สิ่งที่ควรศึกษาในวัฒนธรรมดนตรีลุ่มน้ำโขง ได้แก่ การศึกษาในตัว
ดนตรี และการศึกษาสิ่งที่เกี่ยวข้องกับดนตรี โดยสรุป พัฒนาการทางด้านการเมือง
เศรษฐกิจ และสังคมท้าให้เกิดความหลากหลายของรูปแบบทางดนตรีในภูมิภาคลุ่มน้ำ
โขง การศึกษาวัฒนธรรมดนตรีสามารถศึกษาทั งพัฒนาการด้านเนื อหาดนตรีในแต่ละ
ยุคสมัย และบริบททางสังคมที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาดนตรี

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี

ศาสตราจารย์ประจ้าสาขาวิชาดนตรีและการแสดง และประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขา
ดุริยางคศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

References

เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี. (2549). รำยงำนวิจัยดนตรีลำวเดิม ภำยหลังกำรเปลี่ยนแปลง
ทำงกำรเมืองตั ง แต่ปี ค.ศ.1975. ขอนแก่น: คณะศิลปกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
____________. (2551). ดนตรีลำวเดิม. ขอนแก่น: ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้า
โขง มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
____________. (2560). กำรเปลี่ยนแปลงทำงดนตรี. ขอนแก่น: คณะศิลปกรรม
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
____________. (2560). รำยงำนวิจัยดนตรีลำวเดิม ยุคจินตนำกำรใหม่ตั งแต่ปี
ค.ศ.1989. ขอนแก่น : คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
Evans, Grant. (1998). The Politics of Ritual and Remembrance Laos
since1975. Honolulu : University of Hawai Press.
___________. ( 2009) . The Last Century of Lao Royalty. Chiang Mai:
Silkworm Books.
Sam, Sam-Ang. and Cambell, Patriccia Shehan. (1991). Silent Temples,
Songfull Hearts : Traditional Music of Cambodia. Danbury CT:
World Music Press.