ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเต็มใจเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้าผ่านแอปพลิเคชันสถาบันการเงินฉพาะกิจ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

ผู้แต่ง

  • จุฑามาศ สันฐิติรัตน์ -
  • ดารารัตน์ สุขแก้ว

คำสำคัญ:

ข้อมูลส่วนบุคคล, แอปพลิเคชัน, สถาบันการเงินเฉพาะกิจ

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

          การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อระบุปัจจัยที่ส่งผลต่อระดับความเต็มใจเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้าผ่านแอปพลิเคชันสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยการวิจัยนี้เป็นการวิจัยปริมาณ กลุ่มตัวอย่าง ลูกค้าแอปพลิเคชันสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 403 คน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์แบบจำลองสมการถดถอยเชิงเส้นตรง ผลการวิจัยพบว่า ด้านปัจจัยที่ส่งผลต่อระดับความเต็มใจเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้าผ่านแอปพลิเคชันสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล พบว่า ประกอบด้วย (ก) มุมมองคุณค่า และ (ข) ความเชื่อถือต่อระบบของแอปพลิเคชัน

 

References

ณัฐปภัสร์ ดาราพงษ์. (กันยายน - ธันวาคม 2563). ปัจจัยที่มีผลต่อความน่าเชื่อถือในการทำธุรกรรมการเงินทางออนไลน์ผ่านธนาคารทางอินเตอร์เน็ตของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร. คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วารสารนวัตกรรมธุรกิจ การจัดการ และสังคมศาสตร์, 1(1), 90.

เดชาพล สวนสุข. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการรชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านแอพพลิเคชัน มายโม่ เพย์ ของธนาคารออมสินในเขตพญาไท กรุงเทพมหานคร. (การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). สาขาการเงินและการธนาคาร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสยาม,

กรุงเทพมหานคร.

ปวโรตน์ แสงตะวัน. (2563). ปัญหาการให้ความยินยอมในการเก็บรวบรวม ใช้ และเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล ในมหาวิทยาลัยของรัฐ. (การค้นคว้าอิสระปริญญานิติศาสตรมหาบัณฑิต). คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, กรุงเทพมหานคร.

ภฤศ ศิลปะโอฬารกุล. (2565). ทัศนคติและความเป็นส่วนตัวต่อโฆษณาเฉพาะบุคคลของตราสินค้าธนาคารในประเทศไทย. (สารนิพนธ์ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต). วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล, นครปฐม.

ลลิตา ขวัญเมือง. (2559). การสร้างความเชื่อมั่นและการทำธุรกรรมผ่านกระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์อย่างต่อเนื่อง. (การค้นคว้าอิสระปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพมหานคร.

วิชาดา ไม้เงินงาม. (2562). พฤติกรรมและการยอมรับเทคโนโลยีการใช้บริการธนาคารบนโทรศัพท์มือถือของ ผู้ใช้บริการกลุ่มเจเนอเรชั่นเอ็กซ์ในเขตบางแค กรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและเอกชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, กรุงเทพมหานคร.

ศุภิสรา คุณรัตน์. (2561). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับเทคโนโลยีทางการเงินแอพพลิเคชั่น Mobile Banking ของผู้ใช้บริการในกรุงเทพมหานคร. (การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจบัณฑิต). สาขาการเงินและการธนาคาร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสยาม, กรุงเทพมหานคร.

สมาคมธนาคารไทย. (2564). แนวปฏิบัติการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลภาคธุรกิจธนาครสมาคมธนาคารไทย.

สืบค้นจาก: https://www.tba.or.th/.

อภิญญา ภัทราพรพิสิฐ. (2553). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) สาขาแสงชูโต จังหวัดกาญจนบุรี. (การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและเอกชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, กรุงเทพมหานคร.

อมรรัตน์ พิศเพ็ง. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลลต่อความเชื่อมั่นในการทำธุรกรรมการเงินผ่าน e – Wallet ของ ผู้บริโภคกลุ่มเจเนอเรชั่นเอ็กซ์ ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19. (การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพมหานคร.

อลิสา หมีดเส็น. (2562). การรับรู้คุณค่าการบริการของลูกหนี้ร่วมที่มีผลต่อความตั้งใจใช้บริการสินเชื่อใน อนาคต กรณีศึกษา ธ.ก.ส. สาขาหาดใหญ่. (วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). สาขาวิชาการตลาด มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา.

อิสร์กุล อุณหเกตุ. (กุมภาพันธ์ 2558). บทวิเคราะห์พระราชบัญญัติกองทุนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน

เฉพาะกิจ พ.ศ. 2558. รายงานทีดีไออาร์, (112), 3–4.

Culnan, M., & Armstrong, P. (1999). Information Privacy Concerns, Procedural Fairness, and Impersonal Trust: An Empirical Investigation. Organization Science, 10(1), 104-115.

Culnan, M., & Bies, R. (2003). Consumer Privacy: Balancing Economic and Justice Considerations. Journal of Social Issues, 59(2), 323-342.

Dinev, T.. Bellotto, M., Hart, P., Russo, V., Serra, I., & Colautti, C. (2006). Privacy calculus model in e-commerce-a study of Italy and the United States. European Journal of Information Systems, 15(4), 389-402.

Jain, D., Goswami, S., & Bhutani, S. (2014). Consumer behavior towards online shopping: An empirical study from Delhi. Journal of Business and Management, 16(9), 65-72.

Laukkanen, T., & Lauronen, J. (2005). Consumer Value Creation in Mobile Banking Services. IJMC, 3, 325–338.

McKnight, D.H. and Choudhury, V. (2006). Distrust and trust in B2C e-commerce: do they differ?, In Proceeding ICEC '06 Proceedings of the 8th international conference on Electronic commerce: The new e-commerce: innovations for conquering current barriers, bstacles and limitations to conducting successful business on the internet. New York. 482-491.

Sheng M, Tang M, Chan H, Yang B, Zhang F, Huang Y. (2008). Influence of arbuscular mycorrhizae on photosynthesis and water status of maize plants under salt stress. Mycorrhiza. 2008(18), 287–296.

Xu, H., Luo, X., Carroll, J., & Rosson, M. (2011). The personalization privacy paradox: An exploratory study of decision making process for location-aware marketing. Decision Support Systems, 51(1), 42-52.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-27