การเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลผ่านแอปพลิเคชันบัตรเครดิต ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

ผู้แต่ง

  • ภัทรีญา อัญชนะ -
  • ดารารัตน์ สุขแก้ว

คำสำคัญ:

การเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล, ความเชื่อมั่น, แอปพลิเคชันบัตรเครดิต

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อระบุปัจจัยที่ส่งผลต่อระดับการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลผ่านแอปพลิเคชันบัตรเครดิต ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ ผู้ใช้บริการแอปพลิเคชันบัตรเครดิต ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 404 คน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามออนไลน์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ แบบจำลองสมการถดถอยเชิงเส้นตรง ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการแอปพลิเคชันบัตรเครดิต ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ประกอบด้วย  (ก) ความเชื่อมั่นในระบบ (ข) ความเชื่อมั่นในองค์กร และ (ค) มุมมองด้านคุณค่า

References

ชลลดา มงคลวนิช. (2563). ปัจจัยความเชื่อมั่นที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ของเยาวชนไทย. วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ, 7(2), 189-214.

ณัฐปภัสร์ ดาราพงษ์. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อความน่าเชื่อถือในการทำธุรกรรมการเงินทางออนไลน์ผ่านธนาคารทางอินเตอร์เน็ตของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารนวัตกรรมธุรกิจ การจัดการ และสังคมศาสตร์, 1(1), 60-94.

ทิพรัตน์ ทองแสง. (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อความกังวลความเป็นส่วนตัวของผู้ที่ใช้บริการธนาคารออนไลน์. (วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน). (2563). แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรม ปี 2564-2566 : ธุรกิจบัตรเครดิต. บทวิเคราะห์อุตสาหกรรม. สืบค้นจาก www.krungsri.com.

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2564). วิวัฒนาการระบบการชำระเงินไทย. สืบค้นจาก www.bot.or.th.

นันท์นภัส สายทองแท้. (2562). ความตั้งใจใช้งานแอปพลิเคชันทางการเงินที่ยืนยันตัวตนโดยกระบวนการรู้จักลูกค้าผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์. วารสารระบบสารสนเทศด้านธุรกิจ (JISB), 5(4), 59-77.

นิกร โภคอุดม. (2563). ความเป็นส่วนตัวของข้อมูลในยุคดิจิทัล. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชียฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 14(2), 59.

ภัทราวดี วงศ์สุเมธ. (2556). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับและการใช้งานระบบการเรียนผ่านเว็บ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 33(3), 3-10

สุคนธ์ทิพย์ ตั้งเฉลิมกุล. (2564). ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีการชำระเงินผ่านคิวอาร์โค้ด. วารสารนวัตกรรมธุรกิจ การจัดการ และสังคมศาสตร์, 2(1), 62-74.

เอกพันธ์ พัฒนาวิจิตร. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล: กรณีศึกษาการลงชื่อเข้าใช้ครั้งเดียวด้วยเฟซบุ๊ก. (สารนิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ)). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สืบค้นจาก http://ethesisarchive. library.tu.ac.th.

Culnan, M.J. & Armstrong, P.K. (1999). Information Privacy Concerns, Procedural Fairness, and Impersonal Trust: An Empirical Investigation. Organization Science, 10(1), 104-115. http://dx.doi.org/10.1287/orsc.10.1.104

Culnan, M.J. & Bies, R.J. (2003). Consumer Privacy: Balancing Economic and Justice Considerations. Journal of Social Issues, 59(2), 323-342.

Keith, M.J., Thompson, S.C., Hale, J. & Lowry, P.B. (2013). Information Disclosure on Mobile Devices: Re-examining Privacy Calculus with Actual User Behavior. International Journal of Human Computer Studies, 71, 1163-1173.

Morosan, C. & DeFranco, A., (2015). Disclosing Personal Information via Hotel Apps: A Privacy Calculus Perspective. International Journal of Hospitality Management, 47, 120-130.

Ponte, E. B., Carvajal-Trujillo, E. & Escobar-RodrÍguez, T. (2015). Influence of trust and perceived value on the intention to purchase travel online: Integrating the effects of assurance on trust antecedents. Tourism Management, 47, 286-302.

Schanll, Higgins, Brown, Carballo-Dieguez & Bakken. (2015). Trust, Perceived Risk, Perceived Ease of Use and Perceived Usefulness as Factors Related to mHealth Technology Use. Stud Health Technol Inform, 2015(216), 467-71.

Smith, H.J., Dinev, T., & Xu, H. (2011). Information Privacy Research: An Interdisciplinary Review. MIS Quarterly, 35(4), 989-1015.

Laufer, R. S., & Wolfe, M. (1977). Privacy as a concept and a social issue: A multidimensional developmental theory. Journal of social Issues, 33(3), 22-42.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-27

How to Cite

อัญชนะ ภ. ., & สุขแก้ว ด. (2022). การเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลผ่านแอปพลิเคชันบัตรเครดิต ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารนวัตกรรมธุรกิจ การจัดการ และสังคมศาสตร์, 3(3). สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jibim/article/view/264866