การศึกษารูปแบบความชอบของแฟนคลับชาวไทยที่มีต่อศิลปินไอดอลไทยและเกาหลี

ผู้แต่ง

  • ณัฐนิชา ดนัยดุษฎีกุล เกตุวดี สมบูรณ์ทวี วรพนธ์ วัฒนาธร และณัฐวุฒิ สมบูรณ์ทวี Faculty of management science Silpakorn university

คำสำคัญ:

ศิลปินไอดอล, รูปแบบความชอบ, แฟนคลับ, อุตสาหกรรมเพลง, เส้นทางของผู้บริโภค

บทคัดย่อ

งานวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษารูปแบบความชอบและเส้นทางความชื่นชอบตั้งแต่เริ่มต้นของผู้บริโภคหรือแฟนคลับชาวไทยที่มีต่อศิลปินไอดอลไทยและเกาหลี และ ศึกษาเหตุผลในการชื่นชอบศิลปินไอดอลไทยและเกาหลีของแฟนคลับชาวไทย ด้วยรูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ ผ่านการสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มแฟนคลับศิลปินไอดอลชาวไทยจำนวน 39 คน และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม โดยทำการวิเคราะห์ข้อมูลแบบมีโครงเรื่อง ผ่านกรอบความคิดเส้นทางของผู้บริโภคและทฤษฎีความดึงดูดใจระหว่างบุคคลเป็นหลักในการวิเคราะห์ ให้ความสำคัญในการชื่นชอบแบบรายบุคคล และไม่นำปัจจัยด้านสถานะทางการเงินมาเป็นปัจจัยสำคัญในการวิเคราะห์ โดยสามารถแบ่งเส้นทางของผู้บริโภคได้เป็น 2 รูปแบบ ได้แก่ รูปแบบความชอบและเส้นทางของผู้บริโภคสำหรับการชื่นชอบศิลปินในประเทศ และต่างประเทศ ซึ่งประกอบไปด้วย 7 ขั้น และพบว่าเหตุผลในการชื่นชอบคือ เหตุผลที่จูงใจให้แฟนคลับมีความต้องการเดินทางไปยังเส้นทางของผู้บริโภคขั้นต่อไปในช่วงเข้าสู่ขั้น  การค้นหาข้อมูล(ของบุคคล), การซื้อสินค้าหรือบริการครั้งแรก, การซื้อสินค้าหรือบริการซ้ำ ซึ่งมีความสอดคล้องกับทฤษฎีดึงดูดใจระหว่างบุคคล และส่งผลให้เหตุผลที่จูงใจในทั้ง 3 ขั้นดังกล่าวมีความสำคัญในการสร้างรายได้ให้กับค่ายเพลง

References

Akkanibutr, T. (2013). THE INFLUENCES OF ADVERTISING THAT USED KOREAN SINGERS AS PRESENTERS ON ATTITUDE AND PURCHASE INTENTION AMONG FEMALE TEENAGERS IN BANGKOK (Master’s thesis). Kasetsart University, n.p. (in Thai)
Amnatcharoenrit, B. (2019). T-Pop versus K-Pop exports entertainment from 4NOLOGUE’s plan. Retrieved from https://forbesthailand.com/news/other/tpop.html. (in Thai)
Bengsanguan, T. (2008). EFFECTS OF EMOTIONAL RELIANCE, ATTITUDE VALENCE FOR THE THIRD PERSON, AND SIMILARITY ON INTERPERSONAL ATTRACTION (Master’s thesis). Chulalongkorn University, n.p. (in Thai)
Brooks, J. & King, N. (2014). Doing Template Analysis: Evaluating an End of Life Care Service.Retrievedf rom https://www.researchgate.net/publication/269333623_Doing_
Template_Analysis_Evaluating_an_End_of_Life_Care_Service
Cherry, K. (2019). Gestalt Laws of Perceptual Organization. Retrieved from https://www.verywellmind.com/gestalt-laws-of-perceptual-organization-2795835
Faculty of Psychology, Chulalongkorn University. (2016). Interpersonal attraction. Retrieved from https://www.facebook.com/PsychologyChula/posts/974579925989754:0. (in Thai)
Issarachai, Y. (2001). THE INTERNET AND THAI POLITICS (Master’s thesis). Chulalongkorn University, n.p. (in Thai)
Khanafiah, D. & Situngkir, H. (2004). Social Balance Theory: Revisiting Heider’s Balance Theory for many agents. Retrieved from http://citeseerx.ist.psu.edu/viewdoc/summary?doi=10.1.1.175.640
Kim, M. (2019). Beyond Spectator Sports: Scale Development and Validation for Mediated Sports Consumption (Doctoral dissertation). The University of New Mexico, n.p.
Kosolkarn, K. (2019). 10 Thai songs that changed the Thai music industry forever (summary of discussion). Retrieved from https://web.tcdc.or.th/th/Articles/Detail/music. (in Thai)
McLeod, S. (2019). Social Identity Theory. Retrieved from https://www.simplypsychology.org/social- identity-theory.html
Redmond, M. V. (2015). Social Exchange Theory. ENGLISH TECHNICAL REPORTS AND WHITE PAPERS, 5. Retrieved from https://lib.dr.iastate.edu/engl_reports/5
Sirikulnarumit, J. (2015). HOW COMMUNICATION AFFECTS THE POPULARITY OF KOREAN POP MUSIC IN THAILAND (Master’s thesis). Chulalongkorn University, n.p. (in Thai)
Smith, M. K. (2001). Kurt Lewin: groups, experiential learning and action research. Retrieved from http://infed.org/mobi/kurt-lewin-groups-experiential-learning-and-action-research/
STEPS Academy. (2019). Customer Journey Important thing for marketers and entrepreneurs to know!!. Retrieved from https://stepstraining.co/content/customer-journey-to-know. (in Thai)
Tantong, A. (2005). INTERPERSONAL ATTRACTION AND ATTACHMENT STYLES: SELF SIMILARITY, COMPLEMENTARITY, AND ATTACHMENT SECURITY (Master’s thesis). Chulalongkorn University, n.p. (in Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-08-31

How to Cite

ณัฐนิชา ดนัยดุษฎีกุล เกตุวดี สมบูรณ์ทวี วรพนธ์ วัฒนาธร และณัฐวุฒิ สมบูรณ์ทวี. (2021). การศึกษารูปแบบความชอบของแฟนคลับชาวไทยที่มีต่อศิลปินไอดอลไทยและเกาหลี. วารสารนวัตกรรมธุรกิจ การจัดการ และสังคมศาสตร์, 2(2), 35–49. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jibim/article/view/252387