ปัจจัยที่มีผลต่อความน่าเชื่อถือในการทำธุรกรรมการเงินทางออนไลน์ผ่านธนาคารทางอินเตอร์เน็ตของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • ณัฐปภัสร์ ดาราพงษ์ TU

คำสำคัญ:

แบบจำลองการยอมรับเทคโนโลยี, ธุรกรรมทางการเงินทางอิเล็กทรอนิกส์

บทคัดย่อ

การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความน่าเชื่อถือในการทำธุรกรรมการเงินทางออนไลน์ผ่านธนาคารทางอินเตอร์เน็ตของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ ใช้การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมในการทำธุรกรรมการเงินทางออนไลน์ผ่านธนาคารทางอินเตอร์เน็ตของผู้สูงอายุ และปัจจัยที่ทำให้เกิดความเสี่ยงในการทำธุรกรรมทางการเงินผ่านทางอินเตอร์เน็ต จากการศึกษาพบว่าการรับรู้ความสอดคล้องระหว่างการทำธุรกรรมการเงินกับธนาคารและเทคโนโลยีโมบายแบงค์กิ้ง ส่งผลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อความตั้งใจใช้งานโมบายแบงค์กิ้งโดยส่งผลทางอ้อมผ่านทางการรับรู้ประโยชน์ในการใช้โมบายแบงค์กิ้ง ทำให้ธนาคารสามารถพัฒนารายการส่งเสริมการขายให้กับลูกค้าและพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับลูกค้า

References

I. Ajzen, and M. Fishbein (1980), Understanding Attitudes and Predicting Social Behaviour. Englewood Cliffs, N J: Prentice-hall.

การค้นคว้าอิสระ
จิรนันท์ พุ่มภิญโญ. (2553). การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับโมบายแบงค์กิ้งของธนาคาร พาณิชย์แห่งหนึ่ง. (การค้นคว้าอิสระมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, สาขาวิชา การบริหารเทคโนโลยี.
ศิรินันท์ กำเนิด. (2557). การศึกษาความพร้อมของเกษตรกรต่อความตั้งใจใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการสื่อสารผ่านสื่อสังคมออนไลน์ โปรแกรมประยุกต์ไลน์. (การค้นคว้าอิสระ มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, สาขาวิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ.
สามารถ แสนภิบาล. (2553). ปัจจัยการใช้ธนาคารบนมือถือผ่านเทคโนโลยีโครงข่ายสื่อสาร 3G กรณีศึกษา ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน). (การค้นคว้าอิสระมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี.
ธัญญา เวียร์รา. (2553). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการชำระค่าสินค้าและบริการผ่าน โทรศัพท์เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานคร. (การค้นคว้าอิสระมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี.
จิรพร ศรีพลาวัฒน์. (2552). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับและใช้บริการโมบายแบงค์กิ้ง. (การ ค้นคว้าอิสระมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี.
อรวิสา งามสรรพ์. (2553). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีการซื้อสินค้าออนไลน์ (E- Shopping) ของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร. (การค้นคว้าอิสระมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี.
ชลธิชา ศรีแสง. (2556). การยอมรับการใช้งานของระบบการชำระเงินทางอิเล็คทรอนิกส์ กรณีศึกษา ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด มหาชน.(การค้นคว้าอิสระมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี.
ศิรินภา เสาวพันธ์พิสุทธิ์. (2555). ความสอดคล้องระหว่างงานและเทคโนโลยีกับความตั้งใจใช้บริการธนาคาร ผ่านโทรศัพท์มือถือ.(การค้นคว้าอิสระมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, สาขาวิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ.
วริศรา มีมาก. (2552). การยอมรับเทคโนโลยีไบโอเมตริกสำหรับการดำเนินธุรกรรมในอุตสาหกรรม. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี.
ศนิ อนันต์รัตนโชติ. (2553). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีการชำระเงินผ่านระบบเว็บไซต์ (Web Payment) ของผู้ซื้อสินค้าและบริการออนไลน์. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี.
นวชัย อธิปชาติศิริ. (2552). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มในการยอมรับระบบ การให้บริการการ จองพื้นที่ระวางสินค้าอิเล็คทรอนิกส์ของพนักงาน ภายใต้แบบจำลองการยอมรับ เทคโนโลยี กรณีศึกษา : บริษัท K-Kingdom จำกัด

วารสาร

F. D. Davis (1989), Perceived Usfullness, Perceived Ease of Use, and User Acceptance of Information Technology. MIS Quarterly, vol. 13, 319-339,
E. M. Roger (1995), The diffusion of Innovations. Free Press, New York, NY.
สิงหะ ฉวีสุข และ สุนันทา วงศ์จตุรภัทร. (2555). ทฤษฎีการยอมรับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ. สถาบันพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ.

สื่ออิเล็กทรอนิกส์

ธนาคารแห่งประเทศไทย. “ธุรกรรมการชำระเงินผ่านบริการ Mobile banking และ Internet banking.” สืบค้นเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2561 จาก https://www2.bot.or.th/statistics/ReportPage.aspx?reportID=688
Digital Ventures. “เข้าใจเทรนด์ Digital Banking – เมื่อการธนาคารต้องรวมเป็นส่วนหนึ่งของไลฟ์ สไตล์คนยุค Millennial” สืบค้นเมื่อวันที่ 10 กันยายน 2560 จาก https://dv.co.th/blog-th/digital-banking-trend/
สํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (สพธอ.) . “รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย ปี 2560 และ ปี 2561” สืบค้นเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2561 จาก https://www.etda.or.th/content/thailand- internet- user-profile-2017-and- value-of-e-commerce-survey-in-thailand- 2017l-press-conference.html
ศูนย์ข้อมูลและวิจัยเศรษฐกิจโทรคมนาคมสำนักวิชาการและจัดการทรัพยากรโทรคมนาคม สำนักงาน กสทช. “รายงานดัชนีชี้วัดในกิจการโทรคมนาคมของประเทศไทยประจำปี 2559- 2560” สืบค้นเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2561 จาก https://www.nbtc.go.th/getattachment/Business/commu/telecom/inform atiton/research/document/%E0%B8%94%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0% B8%99%E0%B8%B5%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%A7 %E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8 %B4%E0%B8%88%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%82%E 0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8% B2%E0%B8%84%E0%B8%A1/28718/Telecom_indicator_2559_2560.pdf.as px

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-09-29