การสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมชุด “สีสันและความสุขแห่งผีขนน้ำ”
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเป็นมาและความสำคัญของประเพณีผีขนน้ำ บ้านนาซ่าง อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย 2) อธิบายขั้นตอนการสร้างสรรค์ งานจิตรกรรม ชุด "สีสันและความสุขของผีขนน้ำ" และ 3) วิเคราะห์ผลงานจิตรกรรม ชุด "สีสันและความสุขของผีขนน้ำ" เป็นงานวิจัยแบบคุณภาพเชิงสร้างสรรค์ มีวิธีการวิจัย 5 ขั้นตอน คือ
1) เก็บรวบรวมข้อมูล ด้วยการถ่ายภาพและศึกษาประเพณีผีขนน้ำ 2) ขั้นตอนการสร้างสรรค์ เป็นการอธิบายถึงวิธีการสร้างงานจิตรกรรม 3) เผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์ โดยการจัดแสดงนิทรรศการงานจิตรกรรมชุด “สีสันและความสุขแห่งผีขนน้ำ” ในหอศิลป์ที่มีมาตรฐาน และ 4) วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาและนำเสนอผลการวิจัยเชิงบรรยาย
ผลการวิจัยพบว่า 1) ความเป็นมาและความสำคัญของประเพณีผีขนน้ำบ้านนาซ่าว อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย เป็นประเพณีที่มีความเชื่อเกี่ยวกับการนับถือผี การขอต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ให้ช่วยเกิดความอุดมสมบูรณ์มาสู่หมู่บ้าน และเป็นการรำลึกถึงบุญคุณของวัว ควาย ที่ช่วยเหลือเป็นเรี่ยวแรงในการทำนา 2) ขั้นตอนการสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมชุด “สีสันและความสุขแห่งผีขนน้ำ” มี 6 ขั้นตอน คือ (1) ทำภาพร่าง (2) เตรียมพื้นผิวผ้าใบ (3) ระบายสีน้ำหนักอ่อน (4) ระบายสีน้ำหนักเข้ม (5) ขูดเช็ดสี และ (6) เคลือบภาพ และ 3) การวิเคราะห์ผลงานจิตรกรรมชุด “สีสันและความสุขแห่งผีขนน้ำ” พบว่า มีการขับเน้นสีและเส้น และความเป็นกึ่งนามธรรมและแสดงพลังอารมณ์ในผลงาน เทคนิคการสร้างสรรค์งานจิตรกรรมชุด “สีสันและความสุขแห่งผีขนน้ำ” สร้างองค์ความรู้เรื่องการขับเน้นเส้นและสีที่กระจายอยู่ทั่วภาพ และความรู้เรื่องเทคนิคการ “ขูดเช็ดสี” ด้วยอารมณ์ที่ฉับพลันทำให้ภาพมีความเคลื่อนไหว มีการลดทอนรูปทรงผีขนน้ำจึงมีความเป็นกึ่งนามธรรมและแสดงพลังอารมณ์
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ต้นฉบับทุกเรื่องที่พิมพ์เผยแพร่ได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Peview) เฉพาะสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ การตีพิมพ์บทความซ้ำต้องได้รับการอนุญาตจากกองบรรณาธิการเป็นลายลักษณ์อักษร
References
กำจร สุนพงษ์ศรี. (2556). สุนทรียศาสตร์ หลักปรัชญาศิลปะ ทฤษฎีทัศนศิลป์ ศิลปวิจารณ์
(พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: วี.พริ้นท์ 1991.
กำจร สุนพงษ์ศรี. (2559). พจนานุกรมศัพท์ทัศนศิลป์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ทรงสิริ วิชิรานนท์. (2559). ประเพณีผีขนน้ำ: กรณีศึกษาประเพณีผีขนน้ำบ้านนาซ่าว
อำเภอเชียงคานจังหวัดเลย. ว.วิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
พระนคร, 1(1), 33-42.
ไทยโรจน์ พวงมณี. (2554). การศึกษาอัตลักษณ์ประเพณีผีตาโขน ผีขนน้ำ และประเพณี
แห่ต้น ดอกไม้: การออกแบบสร้างสรรค์ชุดการแสดงสำหรับการนำเสนอภาพ
ลักษณ์การ ท่องเที่ยวจังหวัดเลย. กรุงเทพฯ: กระทรวงวัฒนธรรม.
วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. (2548). ศิลปะในประเทศไทย จากศิลปะโบราณในสยามถึงศิลปะสมัย
ใหม่. กรุงเทพฯ: ลาดพร้าว.
ศิลป์ พีระศรี. (2553). ศิลปะวิชาการ 3 ศิลปะสงเคราะห์ พจนานุกรมศัพท์ศิลปะตะวันตก
(พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: วิสคอมเซ็นเตอร์.
สาลี รักสุทธี. (2555). สืบสานตำนานงานบุญประเพณีอีสาน. กรุงเทพฯ: พัฒนา.
สิทธิวัฒน์ มีวันคำ (2565ก). ขบวนแห่ผีขนน้ำ. ณ บ้านนาซ่าวตำบลนาซ่าว อำเภอ
เชียงคาน จังหวัดเลย. ถ่ายเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม
สิทธิวัฒน์ มีวันคำ (2567ข). การทำภาพร่างจากภาพถ่ายสู่การเพิ่มเติมเส้นสี. ณ
มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ตำบลเมือง อำเภอเมือง จังหวัดเลย. ถ่ายเมื่อวันที่ 20
พฤษภาคม
สิทธิวัฒน์ มีวันคำ (2567ฃ). ภาพการสร้างพื้นผิวในขั้นตอนการเตรียมพื้นผิวผ้าใบ. ณ
มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ตำบลเมือง อำเภอเมือง จังหวัดเลย. ถ่ายเมื่อวันที่ 1
มิถุนายน
สิทธิวัฒน์ มีวันคำ (2567ค). การระบายสีน้ำหนักอ่อน. ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
ตำบลเมือง อำเภอเมือง จังหวัดเลย. ถ่ายเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน
สิทธิวัฒน์ มีวันคำ (2567ฅ). ตัวอย่างแสดงส่วนขยายการระบายสีน้ำมันน้ำหนักเข้ม. ณ
มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ตำบลเมือง อำเภอเมือง จังหวัดเลย. ถ่ายเมื่อวันที่ 10
มิถุนายน
สิทธิวัฒน์ มีวันคำ (2567ฆ). วัสดุที่ใช้ในการขูดเช็ดสี. ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ตำบล
เมือง อำเภอเมือง จังหวัดเลย. ถ่ายเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน
สิทธิวัฒน์ มีวันคำ (2567ง). การขูดเช็ดสีด้วยยางและกระดาษซับสี. ณ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏเลย ตำบลเมือง อำเภอเมือง จังหวัดเลย. ถ่ายเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน
สิทธิวัฒน์ มีวันคำ (2567จ). “ผีขนน้ำ หมายเลข 4”, สีน้ำมันบนผ้าใบ, 90 x 80 ซม.,
ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ตำบลเมือง อำเภอเมือง จังหวัดเลย. ถ่ายเมื่อ
วันที่ 25 เมษายน
สิทธิวัฒน์ มีวันคำ (2567ฉ). การขับเน้นเส้นและสีจากการร่างภาพสู่การระบายสีชั้นที่ 1
และชั้นที่ 2. ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ตำบลเมือง อำเภอเมือง จังหวัดเลย.
ถ่ายเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน
สิทธิวัฒน์ มีวันคำ (2567ช). การขูดเช็ดสีด้วยพู่กันหัวยางเพื่อสร้างเส้นที่มีขอบคมชัด.
ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ตำบลเมือง อำเภอเมือง จังหวัดเลย. ถ่ายเมื่อวันที่
มิถุนายน
สิทธิวัฒน์ มีวันคำ (2567ซ). การขูดเช็ดสีด้วยกระดาษซับสีเพื่อสร้างขอบเส้นที่นุ่มนวล.
ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ตำบลเมือง อำเภอเมือง จังหวัดเลย. ถ่ายเมื่อวันที่
มิถุนายน
สิทธิวัฒน์ มีวันคำ (2567ฌ). ภาพแสดงการวิเคราะห์ทิศทางการเคลื่อนไหวของเส้น. ณ
มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ตำบลเมือง อำเภอเมือง จังหวัดเลย. ถ่ายเมื่อวันที่ 20
มิถุนายน
สิทธิวัฒน์ มีวันคำ (2567ญ). ภาพแสดงความเป็นกึ่งนามธรรม. ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
เลย ตำบลเมือง อำเภอเมือง จังหวัดเลย. ถ่ายเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน
สิทธิวัฒน์ มีวันคำ (2567ฎ). ภาพแสดงการประสานเส้นสี. ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
ตำบลเมือง อำเภอเมือง จังหวัดเลย. ถ่ายเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน
สิทธิวัฒน์ มีวันคำ (2567ฏ). ภาพเปรียบเทียบภาพข้อมูลผีขนน้ำและภาพผลงานที่เสร็จ
สมบูรณ์. ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ตำบลเมือง อำเภอเมือง จังหวัดเลย.
ถ่ายเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน
สิทธิวัฒน์ มีวันคำ (2567ฐ). “ผีขนน้ำ หมายเลข 1”, สีน้ำมันบนผ้าใบ, 110 x 90 ซม.,
ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ตำบลเมือง อำเภอเมือง จังหวัดเลย. ถ่ายเมื่อ
วันที่ 8 เมษายน
สิทธิวัฒน์ มีวันคำ (2567ฑ). “ผีขนน้ำ หมายเลข 2”, สีน้ำมันบนผ้าใบ, 110 x 90 ซม.,
ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ตำบลเมือง อำเภอเมือง จังหวัดเลย. ถ่ายเมื่อ
วันที่ 18 เมษายน
สิทธิวัฒน์ มีวันคำ (2567ฒ). “ผีขนน้ำ หมายเลข 3”, สีน้ำมันบนผ้าใบ, 90 x 110 ซม.,
ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ตำบลเมือง อำเภอเมือง จังหวัดเลย. ถ่ายเมื่อ
วันที่ 25 เมษายน
สิทธิวัฒน์ มีวันคำ (2567ณ). ภาพผลงาน “ผีขนน้ำ หมายเลข 4” ที่เสร็จสมบูรณ์แล้ว. ณ
มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ตำบลเมือง อำเภอเมือง จังหวัดเลย. ถ่ายเมื่อวันที่ 20
มิถุนายน
สิทธิวัฒน์ มีวันคำ (2567ด). “ผีขนน้ำ หมายเลข 5”, สีน้ำมันบนผ้าใบ, 90 x 80 ซม.,
ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ตำบลเมือง อำเภอเมือง จังหวัดเลย. ถ่ายเมื่อ
วันที่ 25 เมษายน
สิทธิวัฒน์ มีวันคำ (2567ต). “ผีขนน้ำ หมายเลข 6”, สีน้ำมันบนผ้าใบ, 90 x 80 ซม.,
ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ตำบลเมือง อำเภอเมือง จังหวัดเลย. ถ่ายเมื่อ
วันที่ 25 เมษายน
สิทธิวัฒน์ มีวันคำ (2567ถ). “ผีขนน้ำ หมายเลข 7”, สีน้ำมันบนผ้าใบ, 90 x 80 ซม.,
ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ตำบลเมือง อำเภอเมือง จังหวัดเลย. ถ่ายเมื่อ
วันที่ 25 เมษายน
สิทธิวัฒน์ มีวันคำ (2567ท). “ผีขนน้ำ หมายเลข 8”, สีน้ำมันบนผ้าใบ, 110 x 85 ซม.,
ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ตำบลเมือง อำเภอเมือง จังหวัดเลย. ถ่ายเมื่อ
วันที่ 25 เมษายน