การศึกษาปัจจัยในการปฏิบัติงานที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรวิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

Main Article Content

ชุมพล รอดแจ่ม
ปัญญดา จันทกิจ
เอกโอฬาร โชติอนุสรณ์
ชลภัสสรณ์ สิทธิวรงค์ชัย
วิไล พึ่งผล
บุญชาญ ผ่านสุวรรณ

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับปัจจัยในการปฏิบัติงานและระดับความผูกพันต่อองค์กร และ 2) ปัจจัยในการปฏิบัติงานที่ส่งผลต่อความผูกพัน
ต่อองค์กรของบุคลากรวิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา การวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการจำนวน 130 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และ
การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับปัจจัยในการปฏิบัติงานและระดับความผูกพันต่อองค์กรอยู่ในระดับมาก และ 2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์กรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.01) เรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ การทำงานเป็นทีมและมีส่วนร่วม ความมีจริยธรรม ความคิดสร้างสรรค์ และการมีวิสัยทัศน์นำการเปลี่ยนแปลง
ข้อเสนอแนะในการนำผลวิจัยไปใช้ ได้แก่ การพัฒนาโปรแกรมฝึกอบรม
เพื่อเสริมสร้างทักษะการทำงานเป็นทีม การจัดทำแนวปฏิบัติด้านจริยธรรมองค์กร การส่งเสริมวัฒนธรรมที่เอื้อต่อความคิดสร้างสรรค์ การพัฒนาภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ และ
การออกแบบระบบประเมินผลการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับปัจจัยทั้ง 4 ด้าน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานและความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรในสถาบันอุดมศึกษา

Article Details

How to Cite
รอดแจ่ม ช., จันทกิจ ป. ., โชติอนุสรณ์ เ. ., สิทธิวรงค์ชัย ช. ., พึ่งผล ว., & ผ่านสุวรรณ บ. . (2025). การศึกษาปัจจัยในการปฏิบัติงานที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรวิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 17(1), 227–247. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jhsc/article/view/281035
บท
บทความวิจัย

References

ธนาคาร แสงหวัง, เฉลิมชัย ปัญญาดี, และ ปิยะพงษ์ บุษบงก์. (2565). ความผูกพันต่อ

องค์การของบุคลากรมหาวิทยาลัยแม่โจ้. วารสารบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์

ราชมงคลล้านนา, 10(1), 14-27.

พิมพ์ปวีณ์ มะณีวงค์, วรรณภา ลือกิตินันท์, และ ปิยะวรรณ เลิศพานิช. (2564). ปัจจัยที่ส่ง

ผลต่อความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วารสาร

บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 7(3), 37-61.

วราภรณ์ ชื่นจรูญ, และ เนตร์พัณณา ยาวิราช. (2565, มกราคม-เมษายน). อิทธิพลของความ

ผูกพันในองค์การและความพึงพอใจในงานที่มีผลต่อความจงรักภักดีต่อองค์การ

ของลูกจ้างชั่วคราว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. วารสารวิจัย

วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, ุ6(2), 180-192.

ศศิวิมล มาลาพงษ์, และ สุทธิพงศ์ บุญผดุง. (2565, มกราคม-มิถุนายน). ภาวะผู้นำยุค

ดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกัด

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2. วารสาร

วิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี, 11(1), 88-102.

รัญชิดา ดาวเรือง, ศิริพร ห้วยแก้ว และ ธฤตาภา ปานบ้านเกร็ด. (2567). ปัจจัยที่ส่งผลต่อ

การลาออกของพนักงานสายงานการจัดการธุรกิจและผลกระทบที่มีต่อองค์กร.

วารสารวิทยาการจัดการวไลยอลงกรณ์, 5(3), 35-54.

สุธิดา แจ้งประจักษ์, ธีระวัฒน์ จันทึก, และ พิทักษ์ ศิริวงศ์. (2563). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ

ความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏในเขต

กรุงเทพมหานคร. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 13(2), 1636-

Alzyoud, A. A. Y., Ahmed, U., AlZgool, M. R. H., & Pahi, M. H. (2019). Leaders'

emotional intelligence and employee retention: Mediation of job

satisfaction in the hospitality industry. International Journal of

Financial Research, 10(3), 1-10.

Amabile, T. M. (1996). Creativity in context: Update to “The Social

Psychology of Creativity”. Boulder, CO: Westview.

Bakker, A. B., & de Vries, J. D. (2021). Job Demands–Resources theory and

self-regulation: New explanations and remedies for job burnout.

Anxiety, Stress, & Coping, 34(1), 1-21.

Bakker, A. B., & Albrecht, S. (2018). Work Engagement: Current Trends. Career

Development International, 23(1), 4-11.

Best, J. W., & Kahn, J. V. (1993). Research in education (7th ed.). Boston: Allyn

and Bacon.

Chordiya, R., Sabharwal, M., & Goodman, D. (2021). Affective organizational

commitment and job satisfaction: A cross-national comparative

study. Public Administration, 95(1), 178-195.

Creswell, J. W., & Creswell, J. D. (2018). Research design: Qualitative,

quantitative, and mixed methods approaches (5th ed.). Thousand

Oaks, CA: SAGE Publications.

Etikan, I., Musa, S. A., & Alkassim, R. S. (2016). Comparison of convenience

sampling and purposive sampling. American Journal of Theoretical

and Applied Statistics, 5(1), 1-4.

Field, A. (2018). Discovering statistics using IBM SPSS Statistics (5th ed.).

London, UK: Sage Publications.

Frost, J. (2020). Regression analysis: An intuitive guide for using and

interpreting linear models. State College, PA: Statistics by Jim Publishing.

Ghasemy, M., Hussin, S., Hashemi, S. M., & Othman, N. (2018). Determining

factors of job satisfaction and organizational commitment in higher

education institutions: The role of leadership. Educational Management

Administration & Leadership, 46(1), 161–180. https://doi.

org/10.1177/1741143216672069

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2019). Multivariate data

analysis (8th ed.). Boston, MA: Cengage Learning.

Katzenbach, J. R., & Smith, D. K. (2015). The wisdom of teams: Creating the

high-performance organization. Boston, MA: Harvard Business Review Press.

Kotter, J. P. (2012). Leading change. Boston, MA: Harvard Business Press.

Meyer, J. P., & Allen, N. J. (1991). A three-component conceptualization of

organizational commitment. Human Resource Management

Review, 1(1), 61-89.

Stevens, J. P. (1996). Applied multivariate statistics for the social sciences

(3rd ed.). Mahwah, NJ: Lawrence Erlbaum Associates

Treviño, L. K., Weaver, G. R., & Reynolds, S. J. (2006). Behavioral ethics in

organizations: A review. Journal of Management, 32(6), 951-990.

World Medical Association. (2013). World Medical Association Declaration of

Helsinki: Ethical principles for medical research involving human

subjects. JAMA, 310(20), 2191-2194.