การสร้างสรรค์และวิเคราะห์ผลงานศิลปกรรม (จิตรกรรม) ชุดวัฒนธรรมแห่งความสุข: ประเพณีชักพระสุราษฎร์ธานี
Main Article Content
บทคัดย่อ
ผลงานจิตรกรรมชุด “วัฒนธรรมแห่งความสุข” ประเพณีชักพระของจังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นการวิจัยแบบคุณภาพเชิงสร้างสรรค์งานทางศิลปกรรม (จิตรกรรม) มีขั้นตอนการดำเนินการวิจัย คือ 1) ศึกษาเรียนรู้ประเพณีชักพระของจังหวัดสุราษฎร์ธานี 2) สร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมชุด “วัฒนธรรมแห่งความสุข” ประเพณีชักพระของจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยนำข้อมูลภาพต้นแบบที่แสดงออกถึงความประทับใจ สีสัน ความงดงาม ซึ่งนำเอาแนวคิดในผลงานของพอล โกแกง ที่กล่าวไว้ว่า “สี” เปรียบเหมือนกับเสียงดนตรีที่สะท้อนกังวาน สิ่งซึ่งเป็นธรรมดาที่สุด แต่ทำให้เกิดสิ่งที่ตามมาซึ่งยากที่จะอธิบายได้ด้วยคำพูด นั่นคือ พลังภายในของมัน (It’s inner force) เพื่อสร้างสรรค์เป็นผลงานจิตรกรรม 3) นำผลงานจิตรกรรมชุด “วัฒนธรรมแห่งความสุข” ประเพณีชักพระของจังหวัดสุราษฎร์ธานี
เผยแพร่สู่สาธารณชน
ผลการวิจัยพบว่า 1) ประเพณีชักพระเป็นประเพณีท้องถิ่นของชาวใต้ที่ยึดถือปฏิบัติกันมาอย่างยาวนานตั้งแต่สมัยศรีวิชัย โดยเป็นประเพณีที่สืบเนื่องด้วยพุทธศาสนาซึ่งจะมีขึ้นหลังวันปวารณาหรือวันออกพรรษาแล้ว 1 วัน ตรงกับวันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 โดยการที่พุทธศาสนิกชนพร้อมใจกันอาราธนาพระพุทธรูปขึ้นประดิษฐานบนบุษบกที่วางอยู่บนพาหนะ เช่น เรือ รถ หรือล้อเลื่อน ที่เรียกว่า “เรือพนมพระ” แล้วพากันแห่แหนชักลากไปตามถนนหนทางนั้น เพื่อความเป็นสิริมงคลและอำนวยอวยพรให้อยู่เย็นเป็นสุข ตามคติความเชื่อมาแต่โบราณ 2) ผลการสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรม ด้วยเทคนิคสีน้ำมันบนผ้าใบ ขนาด 60x80 เซนติเมตร ทั้งหมด 7 ชิ้น ได้แก่ 1) ผลงานความสุขนางรำหน้าเรือ 2) ผลงานสุขแห่งความพร้อมเพรียง 3) ผลงานความสุขกลองยาว 4) ผลงานสุขสุดสายตา 5) ผลงานจังหวะแห่งความสุข 6) ผลงานรอยยิ้มนางรำชุดสีฟ้า 7) ผลงานราตรีเดือนสิบเอ็ด พร้อมแนวคิดในการสร้างสรรค์ 3) การเผยแพร่ ผลงานจิตรกรรม “ชุดวัฒนธรรมแห่งความสุข: ประเพณีชักพระสุราษฎร์ธานี” ต่อสาธารณชน ณ หอศิลป์ศรีวิชัย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ทำให้เกิดความตระหนักต่อความรัก
ความห่วงแหนในวัฒนธรรมที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนาน
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ต้นฉบับทุกเรื่องที่พิมพ์เผยแพร่ได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Peview) เฉพาะสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ การตีพิมพ์บทความซ้ำต้องได้รับการอนุญาตจากกองบรรณาธิการเป็นลายลักษณ์อักษร
References
จิระพัฒน์ พิตรปรีชา. (2552). โลกศิลปะ ศตวรรษที่ 20. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.
เดชวินิตย์ ศรีพิณ. (2563ค). ภาพถ่ายต้นแบบความสุขนางรำหน้าเรือพระ. ใน รายงานวิจัย
เรื่องการสร้างสรรค์และวิเคราะห์ผลงานศิลปกรรม (จิตรกรรม) ชุดวัฒนธรรม
แห่งความสุข: ประเพณีชักพระสุราษฎร์ธานี. สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุราษฎร์ธานี.
เดชวินิตย์ ศรีพิณ. (2563ฅ). สเก็ตซ์ภาพขาวดำเพื่อหาน้ำหนักแสง เงา ความสุขนางรำหน้า
เรือพระ. ใน รายงานวิจัยเรื่องการสร้างสรรค์และวิเคราะห์ผลงานศิลปกรรม
(จิตรกรรม) ชุดวัฒนธรรมแห่งความสุข: ประเพณีชักพระสุราษฎร์ธานี.
สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
เดชวินิตย์ ศรีพิณ. (2563ฆ). ภาพถ่ายต้นแบบความสุขแห่งความพร้อมเพรียง. ใน รายงาน
วิจัยเรื่องการสร้างสรรค์และวิเคราะห์ผลงานศิลปกรรม (จิตรกรรม) ชุด
วัฒนธรรมแห่งความสุข: ประเพณีชักพระสุราษฎร์ธานี. สุราษฎร์ธานี:
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
เดชวินิตย์ ศรีพิณ. (2563ง). สเก็ตซ์ภาพขาวดำเพื่อหาน้ำหนักแสง เงา ความสุขแห่งความ
พร้อมเพรียง. ใน รายงานวิจัยเรื่องการสร้างสรรค์และวิเคราะห์ผลงานศิลปกรรม
(จิตรกรรม) ชุดวัฒนธรรมแห่งความสุข: ประเพณีชักพระสุราษฎร์ธานี.
สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
เดชวินิตย์ ศรีพิณ. (2563จ). ภาพถ่ายต้นแบบความสุขกลองยาว. ใน รายงานวิจัยเรื่องการ
สร้างสรรค์และวิเคราะห์ผลงานศิลปกรรม (จิตรกรรม) ชุดวัฒนธรรมแห่งความ
สุข: ประเพณีชักพระสุราษฎร์ธานี. สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุราษฎร์ธานี.
เดชวินิตย์ ศรีพิณ. (2563ฉ). สเก็ตซ์ภาพขาวดำเพื่อหาน้ำหนักแสง เงา ความสุขกลองยาว.
ใน รายงานวิจัยเรื่องการสร้างสรรค์และวิเคราะห์ผลงานศิลปกรรม (จิตรกรรม)
ชุดวัฒนธรรมแห่งความสุข: ประเพณีชักพระสุราษฎร์ธานี. สุราษฎร์ธานี:
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
เดชวินิตย์ ศรีพิณ. (2563ช). ภาพถ่ายต้นแบบสุขสุดสายตา. ใน รายงานวิจัยเรื่องการ
สร้างสรรค์และวิเคราะห์ผลงานศิลปกรรม (จิตรกรรม) ชุดวัฒนธรรมแห่งความ
สุข: ประเพณีชักพระสุราษฎร์ธานี. สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุราษฎร์ธานี.
เดชวินิตย์ ศรีพิณ. (2563ซ). สเก็ตซ์ภาพขาวดำเพื่อหาน้ำหนักแสง เงา สุขสุดสายตา. ใน
รายงานนวิจัยเรื่องการสร้างสรรค์และวิเคราะห์ผลงานศิลปกรรม (จิตรกรรม)
ชุดวัฒนธรรมแห่งความสุข: ประเพณีชักพระสุราษฎร์ธานี. สุราษฎร์ธานี:
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
เดชวินิตย์ ศรีพิณ. (2563ฌ). ภาพถ่ายต้นแบบจังหวะแห่งความสุข. ใน รายงานวิจัยเรื่องการ
สร้างสรรค์และวิเคราะห์ผลงานศิลปกรรม (จิตรกรรม) ชุดวัฒนธรรมแห่งความ
สุข: ประเพณีชักพระสุราษฎร์ธานี. สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุราษฎร์ธานี.
เดชวินิตย์ ศรีพิณ. (2563ญ). สเก็ตซ์ภาพขาวดำเพื่อหาน้ำหนักแสง เงา จังหวะแห่งความสุข.
ใน รายงานวิจัยเรื่องการสร้างสรรค์และวิเคราะห์ผลงานศิลปกรรม (จิตรกรรม)
ชุดวัฒนธรรมแห่งความสุข: ประเพณีชักพระสุราษฎร์ธานี. สุราษฎร์ธานี:
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
เดชวินิตย์ ศรีพิณ. (2563ฎ). ภาพถ่ายต้นแบบรอยยิ้มนางรำชุดสีฟ้า. ใน รายงานวิจัยเรื่อง
การสร้างสรรค์และวิเคราะห์ผลงานศิลปกรรม (จิตรกรรม) ชุดวัฒนธรรมแห่ง
ความสุข: ประเพณีชักพระสุราษฎร์ธานี. สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุราษฎร์ธานี.
เดชวินิตย์ ศรีพิณ. (2563ฏ). สเก็ตซ์ภาพขาวดำเพื่อหาน้ำหนักแสง เงา รอยยิ้มนางรำชุดสีฟ้า.
ใน รายงานวิจัยเรื่องการสร้างสรรค์และวิเคราะห์ผลงานศิลปกรรม (จิตรกรรม)
ชุดวัฒนธรรมแห่งความสุข: ประเพณีชักพระสุราษฎร์ธานี. สุราษฎร์ธานี:
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
เดชวินิตย์ ศรีพิณ. (2563ฐ). ภาพถ่ายต้นแบบราตรีเดือนสิบเอ็ด. ใน รายงานวิจัยเรื่องการ
สร้างสรรค์และวิเคราะห์ผลงานศิลปกรรม (จิตรกรรม) ชุดวัฒนธรรมแห่งความ
สุข: ประเพณีชักพระสุราษฎร์ธานี. สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุราษฎร์ธานี.
เดชวินิตย์ ศรีพิณ. (2563ฑ). สเก็ตซ์ภาพขาวดำเพื่อหาน้ำหนักแสง เงา ราตรีเดือนสิบเอ็ด.
ใน รายงานวิจัยเรื่องการสร้างสรรค์และวิเคราะห์ผลงานศิลปกรรม (จิตรกรรม)
ชุดวัฒนธรรมแห่งความสุข: ประเพณีชักพระสุราษฎร์ธานี. สุราษฎร์ธานี:
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
เดชวินิตย์ ศรีพิณ. (2563ฒ). ผลงานชื่อความสุขนางรำหน้าเรือพระ. ใน รายงานวิจัยเรื่อง
การสร้างสรรค์และวิเคราะห์ผลงานศิลปกรรม (จิตรกรรม) ชุดวัฒนธรรมแห่ง
ความสุข: ประเพณีชักพระสุราษฎร์ธานี. สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุราษฎร์ธานี.
เดชวินิตย์ ศรีพิณ. (2563ณ). ผลงานชื่อสุขแห่งความพร้อมเพรียง. ใน รายงานวิจัยเรื่องการ
สร้างสรรค์และวิเคราะห์ผลงานศิลปกรรม (จิตรกรรม) ชุดวัฒนธรรมแห่งความ
สุข: ประเพณีชักพระสุราษฎร์ธานี. สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุราษฎร์ธานี.
เดชวินิตย์ ศรีพิณ. (2563ด). ผลงานชื่อความสุขกลองยาว. ใน รายงานวิจัยเรื่องการ
สร้างสรรค์และวิเคราะห์ผลงานศิลปกรรม (จิตรกรรม) ชุดวัฒนธรรมแห่งความ
สุข: ประเพณีชักพระสุราษฎร์ธานี. สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุราษฎร์ธานี.
เดชวินิตย์ ศรีพิณ. (2563ต). ผลงานชื่อสุดสายตา. ใน รายงานวิจัยเรื่องการสร้างสรรค์และ
วิเคราะห์ผลงานศิลปกรรม (จิตรกรรม) ชุดวัฒนธรรมแห่งความสุข: ประเพณี
ชักพระสุราษฎร์ธานี. สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
เดชวินิตย์ ศรีพิณ. (2563ถ). ผลงานชื่อจังหวะแห่งความสุข. ใน รายงานวิจัยเรื่องการ
สร้างสรรค์และวิเคราะห์ผลงานศิลปกรรม (จิตรกรรม) ชุดวัฒนธรรมแห่งความ
สุข: ประเพณีชักพระสุราษฎร์ธานี. สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุราษฎร์ธานี.
เดชวินิตย์ ศรีพิณ. (2563ท). ผลงานชื่อรอยยิ้มนางรำชุดสีฟ้า. ใน รายงานวิจัยเรื่องการ
สร้างสรรค์และวิเคราะห์ผลงานศิลปกรรม (จิตรกรรม) ชุดวัฒนธรรมแห่งความ
สุข: ประเพณีชักพระสุราษฎร์ธานี. สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุราษฎร์ธานี.
เดชวินิตย์ ศรีพิณ. (2563ธ). ผลงานชื่อราตรีเดือนสิบเอ็ด. ใน รายงานวิจัยเรื่องการ
สร้างสรรค์และวิเคราะห์ผลงานศิลปกรรม (จิตรกรรม) ชุดวัฒนธรรมแห่งความ
สุข: ประเพณีชักพระสุราษฎร์ธานี. สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุราษฎร์ธานี.
บุหลัน กุลวิจิตร. (2562). การจัดนิทรรศการในยุคเดิมและยุคดิจิทัลของพิพิธภัณฑ์.
วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 5(1), 311.
ลัญจกร นิลกาญจน์. (2561, กรกฎาคม-ธันวาคม). วัฒนธรรมความเชื่อกับการจัดการ
ศรัทธาของชุมชน. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์, 10(2), 11.
ศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม. (2566). ภาวะทางอารมณ์ของ
ข้าพเจ้าที่ได้รับจากประสบการณ์ในชีวิต (State of my emotion from my
experience). http://www.m-culture.in.th/album/view/198143/)
Gauguin, P. (1891ก). la OranaMaria. https://en.wikipedia.org/wiki/la_
Orana_Maria.
Gauguin, P. (1894ข). Sacred Spring: Sweet Dreams. https://commons.m.wikimedia.
org/wiki/File:Gauguin,_Paul_-_Sacred_Spring,_Sweet_Dreams_
(Nave_nave_moe).jpg
Gauguin, P. (1891ฃ). Tahitian Women on the Beach. https://https://th.
wikipedia. org.
บุคลานุกรม
กลิ่น เพชรขุ้ม (ผู้ให้สัมภาษณ์) เดชวินิตย์ ศรีพิณ (ผู้สัมภาษณ์). ณ หมู่บ้านเวียง ประสาน
หมู่ที่ 9 ตำบลวัดประดู่ อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี. เมื่อวันที่
ตุลาคม 2563.
เกรียงเดช ศรีพิณ (ผู้ให้สัมภาษณ์) เดชวินิตย์ ศรีพิณ (ผู้สัมภาษณ์). ณ หมู่บ้านเวียง
ประสาน หมู่ที่ 9 ตำบลวัดประดู่ อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี.
เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2563.
อำนวย จีนต่างเมือง (ผู้ให้สัมภาษณ์) เดชวินิตย์ ศรีพิณ (ผู้สัมภาษณ์). ณ หมู่บ้านเวียง
ประสาน หมู่ที่ 9 ตำบลวัดประดู่ อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี.
เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2563.