กลองยืน-กลองหลอน: เทคนิคการบรรเลงของปราชญ์ดนตรีมังคละในจังหวัดพิษณุโลก

Main Article Content

ศุภชัย ธีระกุล

บทคัดย่อ

บทความวิจัยฉบับนี้นำเสนอส่วนหนึ่งในการวิจัยเรื่อง “พัฒนาชุดการสอนปฏิบัติกลองยืน-กลองหลอนตามวิถีปราชญ์มังคละในจังหวัดพิษณุโลก” โดยมีวัตถุประสงค์ศึกษาเทคนิคกลองยืน-กลองหลอน จากนายเต้า มีนาค และนายประโยชน์ ลูกพลับ ใช้วิธีวิจัยและพัฒนา เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสังเกต การสัมภาษณ์ คัดเลือกกลุ่มผู้ให้ข้อมูลแบบเจาะจง จำนวน 2 คน จากปราชญ์ชาวบ้านที่มีความรู้ในดนตรีมังคละ นำเสนอผลการวิจัยเชิงพรรณนาวิเคราะห์
ผลการวิจัยพบว่า เทคนิคการบรรเลงกลองยืน-กลองหลอนของจังหวัดพิษณุโลก มี 4 เทคนิค คือ 1) เทคนิคการจับไม้ 2) เทคนิคการวางมือ 3) เทคนิคบรรเลงเสียงในเสียงต่าง ๆ และ 4) เทคนิคตำแหน่งในการบรรเลงบนกลองยืน-กลองหลอน มีเทคนิคการบรรเลง
ไม่แตกต่างกัน มีเสียงที่ใช้ในการบรรเลงกลองยืน 4 เสียง และกลองหลอน 3 เสียง ซึ่งมีเสียงที่เรียกต่างกัน 1 เสียง คือ หนืด/ติง2 ซึ่งเกิดจากการพัฒนาให้มีความเข้าใจได้ง่ายตามความเห็นของปราชญ์มังคละในแต่ละบุคคล

Article Details

How to Cite
ธีระกุล ศ. . (2023). กลองยืน-กลองหลอน: เทคนิคการบรรเลงของปราชญ์ดนตรีมังคละในจังหวัดพิษณุโลก. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 15(1), 33–58. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jhsc/article/view/262825
บท
บทความวิจัย

References

กรมส่งเสริมวัฒนธรรม. (2556). ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้อง

ไม่ได้ พ.ศ. 2556. กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมวัฒนธรรม.

พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต). (2537). สืบสานวัฒนธรรมไทยบนฐานแห่งการศึกษาที่แท้

(พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สหธรรมมิก.

ศุภชัย ธีระกุล. (2560). การสืบทอดมังคละในสถาบันอุดมศึกษาตามวิถีปราชญ์ชาวบ้านใน

ภาคเหนือตอนล่าง. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. (ดุริยางคศิลป์). มหาสารคาม:

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ศุภชัย ธีระกุล (ผู้ถ่ายภาพ). การจับไม้กลองยืน-กลองหลอน. ณ บ้านเลขที่ 26/1 หมู่ที่ 8

ตำบลจอมทอง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2564.

ศุภชัย ธีระกุล (ผู้ถ่ายภาพ). ตำแหน่งการตีและเสียงที่เกิดขึ้นในการบรรเลงกลองยืน. ณ

บ้านเลขที่ 26/1 หมู่ที่ 8 ตำบลจอมทอง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. เมื่อวันที่

สิงหาคม 2564.

ศุภชัย ธีระกุล (ผู้ถ่ายภาพ). ตำแหน่งการตีและเสียงที่เกิดขึ้นในการบรรเลงกลองหลอน. ณ

บ้านเลขที่ 26/1 หมู่ที่ 8 ตำบลจอมทอง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. เมื่อวันที่

สิงหาคม 2564.

ศุภชัย ธีระกุล (ผู้ถ่ายภาพ). เทคนิคการบรรเลงเสียงเก๊ะ. ณ บ้านเลขที่ 34/3 หมู่ที่ 12

ตำบลจอมทอง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2565.

ศุภชัย ธีระกุล (ผู้ถ่ายภาพ). เทคนิคการบรรเลงเสียงจ๊ะ. ณ บ้านเลขที่ 34/3 หมู่ที่ 12

ตำบลจอมทอง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2565.

ศุภชัย ธีระกุล (ผู้ถ่ายภาพ). เทคนิคการบรรเลงเสียงติง. ณ บ้านเลขที่ 34/3 หมู่ที่ 12

ตำบลจอมทอง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2565.

ศุภชัย ธีระกุล (ผู้ถ่ายภาพ). เทคนิคการบรรเลงเสียงติง2/หนืด. ณ บ้านเลขที่ 34/3 หมู่ที่

ตำบลจอมทอง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2565.

ศุภชัย ธีระกุล (ผู้ถ่ายภาพ). เทคนิคการบรรเลงเสียงตุ๊บ. ณ บ้านเลขที่ 34/3 หมู่ที่ 12

ตำบลจอมทอง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2565.

ศุภชัย ธีระกุล (ผู้ถ่ายภาพ). เทคนิคการบรรเลงเสียงเท่ง. ณ บ้านเลขที่ 34/3 หมู่ที่ 12

ตำบลจอมทอง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2565.

ศุภชัย ธีระกุล (ผู้ถ่ายภาพ). เทคนิคการบรรเลงเสียงป๊ะ. ณ บ้านเลขที่ 34/3 หมู่ที่ 12

ตำบลจอมทอง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2565.

ศุภชัย ธีระกุล (ผู้ถ่ายภาพ). ลักษณะกลองยืน-กลองหลอนและความแตกต่างของไม้ตีกลอง

ยืน-กลองหลอน. ณ บ้านเลขที่ 26/1 หมู่ที่ 8 ตำบลจอมทอง อำเภอเมือง จังหวัด

พิษณุโลก. เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2564.

ศุภชัย ธีระกุล. (2565). QR Code เทคนิคการบรรเลงเสียงเก๊ะ. https://www.youtube.com/

watch?v=qfkL4oXCqow

ศุภชัย ธีระกุล. (2565). QR Code เทคนิคการบรรเลงเสียงจ๊ะ. https://www.youtube.com/

watch?v=79K S9UbegJc

ศุภชัย ธีระกุล. (2565). QR Code เทคนิคการบรรเลงเสียงติง. https://www.youtube.com/

watch?v=rjWFcfZbUdU

ศุภชัย ธีระกุล. (2565). QR Code เทคนิคการบรรเลงเสียงติง2/หนืด. https://www.youtube.

com/watch?v=9i Xi_5UVlks

ศุภชัย ธีระกุล. (2565). QR Code เทคนิคการบรรเลงเสียงตุ๊บ. https://www.youtube.com/

watch?v=cbb KJ0zzFLQ

ศุภชัย ธีระกุล. (2565). QR Code เทคนิคการบรรเลงเสียงเท่ง. https://www.youtube.com/

watch?v=DZppst40HvU

ศุภชัย ธีระกุล. (2565). QR Code เทคนิคการบรรเลงเสียงป๊ะ. https://www.youtube.com/

watch?v=ej4XH Np58N8

ศุภชัย ธีระกุล. (2565). นายเต้า มีนาค และนายประโยชน์ ลูกพลับ. ใน รายงานวิจัยเรื่อง

พัฒนาชุดการสอนปฏิบัติกลองยืน-กลองหลอนตามวิถีปราชญ์มังคละในจังหวัด

พิษณุโลก. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.

สันติ ศิริคชพันธุ์. (2540). วงมังคละในจังหวัดพิษณุโลก. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม.

(วัฒธรรมศึกษา). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล.

อมรา พงศาพิชญ์. (2541). วัฒนธรรม ศาสนา และชาติพันธุ์ : วิเคราะห์สังคมไทยแนว

มานุษยวิทยา (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย.

บุคลานุกรม

เต้า มีนาค (ผู้ให้สัมภาษณ์) ศุภชัย ธีระกุล (ผู้สัมภาษณ์). ณ บ้านเลขที่ 26/1 หมู่ที่ 8 ตำบล

จอมทอง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2564.

ประโยชน์ ลูกพลับ (ผู้ให้สัมภาษณ์) ศุภชัย ธีระกุล (ผู้สัมภาษณ์). ณ บ้านเลขที่ 34/3 หมู่ที่

ตำบลจอมทอง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2565.