บทบาทผู้นำท้องถิ่นต่อกระบวนการนโยบายสาธารณะ: กรณีศึกษาเทศบาลตำบลขุนทะเล อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชน และวิเคราะห์บทบาทของผู้นำท้องถิ่นและข้อเสนอแนะต่อกระบวนการนโยบายสาธารณะของเทศบาลตำบลขุนทะเล อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนในตำบลขุนทะเล จำนวน 388 ตัวอย่าง ใช้แบบสอบถามความคิดเห็นของประชาชนต่อกระบวนการนโยบายสาธารณะ และผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้บริหารเทศบาล สมาชิกสภาเทศบาล เจ้าหน้าที่เทศบาลและผู้นำชุมชน จำนวน 10 คน และการสนทนากลุ่มผู้นำชุมชนและประชาชนในเขตเทศบาล จำนวน 15 คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยสถิติบรรยาย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยวิเคราะห์เนื้อหาและตีความข้อมูล และนำเสนอผลการวิจัยเชิงพรรณนาวิเคราะห์
ผลการวิจัยพบว่า 1) โดยภาพรวมประชาชนมีความคิดเห็นต่อกระบวนการนโยบายสาธารณะของเทศบาลตำบลขุนทะเล อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย (x=3.69) ด้าน
การประเมินผลนโยบาย มีค่าเฉลี่ยสูงสุด (x=3.71) รองลงมา คือ การกำหนดนโยบาย มีค่าเฉลี่ย (x=3.69) และการนำนโยบายไปปฏิบัติ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด (x=3.67) โดยความคิดเห็นทุกด้านอยู่ในระดับมาก และ 2) บทบาทของผู้บริหารและสภาท้องถิ่นต่อกระบวนการนโยบายสาธารณะพบว่า ผู้บริหารท้องถิ่นและสภาท้องถิ่นต้องมีบทบาทในการจัดทำนโยบายสาธารณะ มี 3 บทบาท คือ (1) กำหนดนโยบายสาธารณะ รับฟังปัญหาและข้อเรียกร้องของประชาชนเพื่อจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น (2) นำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ ดำเนินงานตามแผนที่สภาท้องถิ่นอนุมัติให้มีประสิทธิภาพ บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายนโยบาย และ (3) ประเมินผลนโยบายสาธารณะ ควบคุมกำกับให้ส่วนราชการจัดทำรายงานผลลัพธ์นโยบายและผลกระทบของโครงการ รวมทั้งปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหรือการยุตินโยบาย ข้อเสนอแนะต่อกระบวนการนโยบายสาธารณะให้สมาชิกสภาเทศบาลผลักดันนโยบายการพัฒนาท้องถิ่นที่เป็นความจำเป็นจริง ๆ มีความโปร่งใส กระจายงบประมาณการพัฒนาอย่างเสมอภาคและยุติธรรม ให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลและตรวจสอบได้
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ต้นฉบับทุกเรื่องที่พิมพ์เผยแพร่ได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Peview) เฉพาะสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ การตีพิมพ์บทความซ้ำต้องได้รับการอนุญาตจากกองบรรณาธิการเป็นลายลักษณ์อักษร
References
เกศสุดา โภคานิตย์, และ กีฬา หนูยศ. (2560). บทบาทผูนำท้องถิ่นในการพัฒนา กรณีศึกษา
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลนาเสียว อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ. วารสารสันติ
ศึกษาปริทรรศน์ มจร., 5(พิเศษ), 66-76. https://so03. tci-thaijo.org/index.
php/journal-peace/article/view/85901/68318
ขวัญธิดา ศศิสุวรรณ. (2559). บทบาทสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลหน้าไม้ กับ
การพัฒนาท้องถิ่น. การค้นคว้าอิสระหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การเมือง
การปกครอง). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ทัพชนะ มะลิเผือก. (2564, 10 พฤษภาคม). คำแถลงนโยบาย. http://www.khuntalae.
go.th/
เทศบาลตําบลขุนทะเล. (2564). แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561-2565) ฉบับทบทวน
พ.ศ. 2564. http://www.khuntalae.go.th/files/com_developplan/
เทศบาลตําบลขุนทะเล. (2564). รายงานการติดตามและประเมินแผนพัฒนาตำบลขุน
ทะเล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564. http://www.khuntalae.go.th/files/
com_strategy/
พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้อง
ถิ่น พ.ศ. 2542. (2542, 17 พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 116 ตอนที่
ก หน้า 48.
พระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2552. (2552, 13 พฤศจิกายน). ราชกิจจานุ
เบกษา. เล่มที่ 126 ตอนที่ 85 ก หน้า 7-13.
มยุรี อนุมานราชธน. (2547). นโยบายสาธารณะ: แนวความคิด กระบวนการ และการ
วิเคราะห์. เชียงใหม่: คนึงนิจการพิมพ์.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. (2540, 11 ตุลาคม). ราชกิจจานุ
เบกษา. เล่ม 114 ตอนที่ 55 ก หน้า 1-99.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. (2560, 6 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา.
เล่ม 134 ตอนที่ 40 ก หน้า 1-90.
รัฐศาสตร์ สันติโชคไพบูลย์. (2563). กระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะแบบปรึกษา
หารือของเทศบาลตำบลศรีถ้อย อำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา. การศึกษาค้นคว้า
ด้วยตนเอง รป.ม. (นโยบายสาธารณะ). มหาวิทยาลัยพะเยา. Thailis. https://
tdc.thailis.or.th/
Anderson, J. E. (1979). Public and Policy-Making. New York: Pracger Publishers.
Anderson, J. E. (1994). Public Policy-Making: Introduction (2nded). New
York : Houghton Mifflin Company.
Asaduzzaman M., & Virtanen P. (2016, January). Governance Theories and
Models. https://www.researchgate.net/publication/308911311.
Caldwell, Lynton K. (1970). Environment: A Challenge in Modern Society.
New York: Doubleday.
Dye, Thomas R. (1997). Understanding Public policy (5thed). Englewood cliffs,
new Jersey: Prentice-Hall, Inc.
Easton, David. (1953). The Political System An Inquiry in to the State of
Political Science. New York: Alfred A. Knorf.
Easton, David. (1957). An Approach to the Analysis of Political System.
England: Campridge University Press.
Friedrich, Carl J. (1963). Man and His Government; an Empirical Theory of
Politics. New York: McGraw-Hill: Mc Graw-Hill.
Greenwood, William T. (1965). Management and Organizational Behavior
Theories: An Interdisciplinary Approach. Ohio: South Western.
Jacop, Charles E. (1966). Policy and Bureaucracy. Prince, N.J.: D. Van Nostrand
Lasswell, Harold D., & Abraham Kaplan. (1970). Power and Society. New
Haven: Yale University Press.
Ozor, N., & N. Nwankwo. (2008, December). The Role of Local Leaders in
Community Development Programmes in Ideato Local Government
Area of Imo State: Implication for Extension Policy. Journal of
Agricultural Extension, 12(2), 63-75.
Sharkansky, Ira. (1971). Policy Analysis in Political Science. Chicago: Markham.
บุคลานุกรม
ประชาชน 1 (ผู้ให้สัมภาษณ์) เพ็ญนภา สวนทอง (ผู้สัมภาษณ์). ณ ศาลาศูนย์การเรียนรู้บึงขุน
ทะเล อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี. เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2565.
ประชาชน 2 (ผู้ให้สัมภาษณ์) เพ็ญนภา สวนทอง (ผู้สัมภาษณ์). ณ ศาลาศูนย์การเรียนรู้บึงขุน
ทะเล อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี. เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2565.
ประชาชน 3 (ผู้ให้สัมภาษณ์) เพ็ญนภา สวนทอง (ผู้สัมภาษณ์). ณ ศาลาศูนย์การเรียนรู้บึงขุน
ทะเล อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี. เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2565.
ประชาชน 4 (ผู้ให้สัมภาษณ์) เพ็ญนภา สวนทอง (ผู้สัมภาษณ์). ณ ศาลาศูนย์การเรียนรู้บึงขุน
ทะเล อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี. เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2565.
ผู้นำชุมชนและตัวแทนประชาชน (ผู้ให้สัมภาษณ์) เพ็ญนภา สวนทอง (ผู้สัมภาษณ์). ณ
ศาลาศูนย์การเรียนรู้บึงขุนทะเล อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี. เมื่อวันที่ 10
พฤษภาคม 2565.
ผู้บริหารท้องถิ่น 1 (ผู้ให้สัมภาษณ์) เพ็ญนภา สวนทอง (ผู้สัมภาษณ์). ณ เทศบาลตำบลขุน
ทะเล อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี. เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2565.
ผู้บริหารท้องถิ่น 2 (ผู้ให้สัมภาษณ์). เพ็ญนภา สวนทอง (ผู้สัมภาษณ์). ณ เทศบาลตำบลขุน
ทะเล อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี. เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2565.
สมาชิกสภาท้องถิ่น 1 (ผู้ให้สัมภาษณ์) เพ็ญนภา สวนทอง (ผู้สัมภาษณ์). ณ ศาลาศูนย์การ
เรียนรู้บึงขุนทะเล อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี. เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน