ภาพรวมการศึกษาภาษาไทยถิ่นใต้

Main Article Content

ตามใจ อวิรุทธิโยธิน

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือรวบรวมและสังเคราะห์ผลการศึกษาเกี่ยวกับภาษาไทยถิ่นใต้เพื่อแสดงสถานภาพปัจจุบัน รวมทั้งเสนอแนะแนวทางที่สามารถเกิดขึ้นได้ในอนาคต งานวิจัยจำนวน 133 รายการ สะท้อนให้เห็นว่ามีการศึกษาภาษาไทยถิ่นใต้ครบแล้วทั้ง 14 จังหวัด ได้แก่ กระบี่ ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปัตตานี พังงา พัทลุง ภูเก็ต ยะลา ระนอง สงขลา สตูล และสุราษฎร์ธานี รวมทั้งยังมีการศึกษาในพื้นที่ที่เชื่อมต่อกับภาคใต้ของประเทศไทยด้วย ได้แก่ ภาคกลางของประเทศไทยและตอนบนของประเทศมาเลเซีย โดยภาพรวมผู้วิจัยพบว่ามีการศึกษาค่อนข้างมากกรณีภาษาไทยถิ่นนครศรีธรรมราช ภาษาไทยถิ่นสงขลา และภาษาไทยถิ่นสุราษฎร์ธานี แต่มีการศึกษาค่อนข้างน้อยกรณีภาษาไทยถิ่นใต้อื่น ๆ ข้อค้นพบแสดงให้เห็นว่า ระบบเสียงพยัญชนะและสระของภาษาไทยถิ่นใต้แต่ละถิ่นมีลักษณะคล้ายคลึงกัน ในขณะที่ระบบเสียงวรรณยุกต์แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ การศึกษาเกี่ยวกับคำ/ไวยากรณ์/ความหมายดำเนินการศึกษาแล้วในหลายประเด็น นอกจากนี้ยังพบแนวแบ่งเขต/เขตปรับเปลี่ยนระหว่างภาษาไทยถิ่นกลางและไทยถิ่นใต้บริเวณจังหวัดรอยต่อของภาคกลางและภาคใต้ (ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ระนอง) งานวิจัยที่สามารถดำเนินการศึกษาในอนาคตได้ คือ ศึกษาภาษาไทยถิ่นใต้ที่ยังมีผลการศึกษาค่อนข้างน้อย หรือ ปรับเปลี่ยนวิธีการในการศึกษาให้เหมาะสมกับยุคสมัย ข้อค้นพบที่เกิดขึ้นนอกจากจะทันสมัยแล้ว ยังมีความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้นด้วย

Article Details

How to Cite
อวิรุทธิโยธิน ต. (2021). ภาพรวมการศึกษาภาษาไทยถิ่นใต้. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 13(1), 1–32. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jhsc/article/view/242212
บท
บทความวิจัย
Author Biography

ตามใจ อวิรุทธิโยธิน, มหาวิทยาลัยราชมงคลรัตนโกสินทร์

35/73 คอนโดรีเจ้นท์โฮม

ซอยวิภาวดีรังสิต 16/27

ถนนวิภาวดีรังสิต

แขวงจอมพล เขตจตุจักร กทม 10900

References

กัลยา ติงศภัทิย์, ม.ร.ว..(2525). หน่วยที่ 15 ภาษาและภาษาย่อยในประเทศไทย. เอกสาร

การสอนชุดวิชาภาษาไทย 3 หน่วยที่ 7 – 15 สาขาวิชาศึกษาศาสตร์.

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

กุณฑลีย์ ไวทยะวณิช. (2534). การศึกษาเรื่องศัพท์ภาษาไทยถิ่นใต้ จังหวัดยะลา ปัตตานี

และนราธิวาส. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจารึกภาษาไทย

ภาควิชาภาษาตะวันออก บัณฑิตวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

เกศมณี เทพวัลย์. (2526). แนวแบ่งเขตภาษาไทยถิ่นกลางกับภาษาไทยถิ่นใต้โดยใช้

วรรณยุกต์เป็นเกณฑ์. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชา

ภาษาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จริยา สมนึก. (2525). ระบบเสียงภาษาถิ่นย่อยของจังหวัดนครศรีธรรมราช. วิทยานิพนธ์

อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย. กรุงเทพฯ:

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จริยา หนูตีด. (2554). การจัดกลุ่มภาษาไทยถิ่นใต้ด้วยเกณฑ์สระสูง พยัญชนะต้นและ

พยัญชนะท้าย. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. ภาษาศาสตร์ บัณฑิต

วิทยาลัย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล.

จเรวัฒน์ เจริญรูป. (2548). หน่วยเสียงต่อเนื่องฐานเพดานแข็งในภาษานครศรีธรรมราช.

วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย. จังหวัดนครศรีธรรมราชฯ:

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

เจริญขวัญ ธรรมประดิษฐ์. (2524). การใช้ลักษณะทางสัทศาสตร์ของสระสูงในการแบ่งเขต

ภาษาถิ่นในจังหวัดตรัง กระบี่ พังงา และภูเก็ต. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร

มหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ฉันทัส ทองช่วย. (2536). ภาษาและวัฒนธรรมภาคใต้. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์.

ฌัลลิกา มหาพูนทอง. (2539). การกำหนดแนวแบ่งเขตภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันออกกับภาษา

ไทยถิ่นใต้ตะวันตก โดยใช้พยางค์ที่มีสระเสียงยาวกับพยัญชนะท้าย // และ

//. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาศาสตร์ บัณฑิต

วิทยาลัย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฐวุฒิ พงศ์จันทรเสถียร. (2539). การแปรของสระสูงในภาษาสงขลาตามตัวแปรทาง

สังคม. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย สายภาษา.

จังหวัดสงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

ดวงใจ เอช. (2529). ภูมิศาสตร์คำศัพท์ภาษาไทยถิ่นใต้จังหวัดสุราษฎร์ธานีและ

นครศรีธรรมราช. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาศาสตร์

บัณฑิตวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ตามใจ อวิรุทธิโยธิน. (2559). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่องภาพรวมการศึกษาภาษาไทย

ถิ่นใต้. จังหวัดปัตตานี: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

ธีระพันธ์ ล. ทองคำ กัลยา ติงศภัทิย์ จิมมี่ แฮริส เจอรี่ เกนี่ย์ ฑะณัน จันทรุพันธ์

วรนุช พันธุ์พงศ์ สุดาพร ลักษณียนาวิน (2521). รายงานการวิจัยเสียงและระบบเสียงในภาษาไทยถิ่นใต้ จังหวัดสุราษฎร์ธานี 16 อำเภอ. กรุงเทพมหานคร : โครงการวิจัยภาษาไทยและภาษาพื้นเมืองถิ่นต่าง ๆ สถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประภาพรรณ เสณีตันติกุล. (2528). การศึกษาเรื่องศัพท์ภาษาไทยถิ่นใต้จังหวัด

สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช และสงขลา. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร

มหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปาลีรัฐ ทรัพย์ปรุง. (2537). การแปรของเสียง () ในภาษาถิ่นสงขลา เขตชุมชนเมือง ตา

ปัจจัยทางสังคม. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาศาสตร์

บัณฑิตวิทยาลัย . กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เปรมจิต ชนะวงศ์. (2545). ภาษาไทยถิ่นใต้. นครศรีธรรมราช : สถาบันราชภัฏ

นครศรีธรรมราช

ภิญโญ จิตต์ธรรม. (2513). ภาษาถิ่น. สงขลา : วิทยาลัยครูสงขลา.

ระพีพรรณ ใจภักดี. (2535). ภูมิศาสตร์คำศัพท์ภาษาไทยถิ่นใต้จังหวัดนครศรีธรรมราช

สงขลา และพัทลุง. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาศาสตร์

บัณฑิตวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เรืองสุข คงทอง. (2549). แนวแบ่งเขตระหว่างภาษาไทยถิ่นกลาง ภาษาไทยถิ่นใต้ และ

ภาษาผสมไทยถิ่นกลาง-ไทยถิ่นใต้: การแปรของวรรณยุกต์ตามกลุ่มอายุ.

วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย.

กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วรรณพร ทองมาก. (2526). แนวแบ่งเขตภาษาไทยถิ่นกลางกับภาษาไทยถิ่นใต้โดยใช้ศัพท์

เป็นเกณฑ์. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาศาสตร์ บัณฑิต

วิทยาลัย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิจินตน์ ฉันทะวิบูลย์. (2499). ความแตกต่างระหว่างภาษากรุงเทพและภาษาสงขลา.

วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย.

กรุงเทพ ฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศุภฤกษ์ หอมแก้ว. (2540). การแปรของ () ในภาษาไทยถิ่นนครศรีธรรมราชตามตัวแปร

อายุและทัศนคติต่อภาษา. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชา

ภาษาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุจิน แก้วกลม. (2539). การแปรของการออกเสียงหน่วยเสียงพยัญชนะต้นระเบิดไม่ก้องมี

ลมของผู้พูดภาษาถิ่นพัทลุงที่มีอายุต่างกัน. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาภาษาไทย. จังหวัดสงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

สุนีย์พร เลิศกุลทานนท์. (2534). ภูมิศาสตร์คำศัพท์ภาษาไทยถิ่นใต้จังหวัดพังงาและ

กระบี่. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาศาสตร์ บัณฑิต

วิทยาลัย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวรรณรัตน์ ราชรักษ์. (2556). การแปรของสระสูงยาว ในภาษาถิ่น

นครศรีธรรมราชตามตัวแปรอายุ เพศ และวัจนลีลา. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร

มหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย. กรุงเทพฯ:

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อภิชญา แก้วอุทัย. (2551). การศึกษาการแปรของเสียง () และ () ในภาษาไทยถิ่น

สงขลาตามปัจจัยทางสังคม. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อัครา บุญทิพย์. (2535). ภาษาไทยถิ่นใต้. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

บางเขน.

Brown, J. M. (1965). From Ancient Thai to Modern Dialects. Bangkok : Social

Science Association Press of Thailand.

Diller, A. (1976). Toward a Model of Southern Thai Diglossic Speech Variation.

Ph.D. Dissertation, Cornell University.